ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ELUNIUMMAN (คุย | ส่วนร่วม)
Magnamonkun (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 34:
|map_state = show
}}
'''รถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม''' ({{lang-en|Metropolitan Rapid Transit Orange Line, MRT Orange Line}}) เป็นหนึ่งในโครงการก่อสร้างเส้นทางรถไฟฟ้าในระบบ'''[[รถไฟฟ้ามหานคร]]''' ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ'''[[โครงข่ายระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในกรุงเทพมหานครและพื้นที่ต่อเนื่อง|โครงการระบบขนส่งมวลชนทางรางในกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล]]''' ดำเนินการโดย'''[[การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย]]''' ([[รฟม.]]) เป็นระบบรถไฟฟ้าที่มีทั้งโครงสร้าง[[ใต้ดิน]] และ[[ยกระดับ]] มีแนวเส้นทางที่รองรับการเดินทางภายในเขตเมืองตามแนวตะวันออก - ตะวันตกของกรุงเทพมหานคร เริ่มต้นจาก[[แยกบางขุนนนท์]] บริเวณจุดตัดถนนจรัญสนิทวงศ์ และถนนบางขุนนนท์ [[ฝั่งทางรถไฟสายสายธนบุรี]] เข้าสู่ย่าน[[เขตบางกอกน้อย|บางกอกน้อย]](ทางรถไฟสายใต้เดิม) แล้วลอดใต้[[แม่น้ำเจ้าพระยา]] เข้าสู่ย่านเมืองเก่าใน[[เขตพระนคร]], [[เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย|ป้อมปราบศัตรูพ่าย]] และ[[เขตดุสิต|ดุสิต]] ผ่านสถานที่สำคัญเช่น [[สนามหลวง]], [[ถนนราชดำเนิน]], [[พระบรมบรรพต|ภูเขาทอง]], [[ตลาดมหานาค]] เข้าสู่ย่านใจกลางเมืองย่าน[[เขตราชเทวี|ราชเทวี]], [[ประตูน้ำ]], [[เขตดินแดง|ดินแดง]] ก่อนออกไปยัง[[ชุมชนประชาสงเคราะห์]], [[ถนนวัฒนธรรม]] และออกสู่ย่านชานเมือง[[ถนนรามคำแหง]], [[เขตบางกะปิ|บางกะปิ]], [[เขตสะพานสูง|สะพานสูง]] มาสิ้นสุดเส้นทางที่[[เขตมีนบุรี]] ชานเมืองด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือของกรุงเทพฯ<ref name="M-MAPSEMINAR3">เอกสารโครงการศึกษาปรับแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางรางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล : การสัมมนารับฟังความคิดเห็นครั้งที่ 3 วันที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 จัดโดย สนข.</ref>บริเวณจุดตัดถนนรามคำแหงกับถนนสุวินทวงศ์
 
เส้นทางรถไฟฟ้าสายนี้เกิดขึ้นจากการปรับแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางราง พ.ศ. 2538 ที่นำเอาเส้นทางรถไฟฟ้าสายสีส้มเดิมช่วงสามเสน (หอสมุดแห่งชาติ)-บางกะปิ มาต่อขยายเส้นทางจากสามเสน (ซังฮี้) ไปยังบางบำหรุ กลายเป็นเส้นทางบางบำหรุ-บางกะปิที่กำหนดให้เป็นสายสีส้ม บรรจุในแผนแม่บทฯ ของ[[สำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร|สำนักนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร]] (สนข.) เป็นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2547 ต่อมาแนวเส้นทางส่วนต่อขยายช่วง[[บางกะปิ]] - [[มีนบุรี]] ได้แยกออกไปเป็นเส้นทาง[[รถไฟฟ้าสายสีน้ำตาล]]เมื่อปี พ.ศ. 2548 แต่จากการปรับแผนแม่บทฯ เมื่อปี พ.ศ. 2552 จึงได้นำกลับมารวมกันเป็นเส้นทางสายสีส้มช่วงบางบำหรุ - มีนบุรีอีกครั้งหนึ่ง โดยในปี พ.ศ. 2553 ได้มีการแก้ไขแนวเส้นทางบางส่วนโดยสลับกับโครงข่ายในเมืองของ[[รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงอ่อน]] ทำให้แนวเส้นทางของรถไฟฟ้าสายสีส้มจากเดิมกลายเป็นตลิ่งชัน - มีนบุรี และใน พ.ศ. 2554 ก็ได้มีการแก้ไขแบบแผนอีกครั้ง โดยตัดเส้นทางจากเดิมที่จะไปสิ้นสุดที่ตลิ่งชัน ให้มาสุดอยู่แค่แยกจรัญสนิทวงศ์เนื่องจากเส้นทางทับซ้อนกับ[[รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงอ่อน|สายสีแดงอ่อน]]ช่วง[[บางซื่อ]] - [[ตลิ่งชัน]] - [[ศาลายาศิริราช]] ทำให้แนวเส้นทางของรถไฟฟ้าสายสีส้มเหลือเพียงแค่ บางขุนนนท์ - มีนบุรี ต่อมาในปี พ.ศ. 2556 ได้มีการแก้ไขเส้นทาง ขยายเส้นทางรถไฟฟ้าสายสีส้มถึงตลิ่งชันอีกครั้ง <ref>http://www.thairath.co.th/content/region/340161</ref>
== ประวัติของโครงการ ==
เส้นทางรถไฟฟ้าสายนี้เกิดขึ้นจากการปรับแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางราง พ.ศ. 2538 ที่นำเอาเส้นทางรถไฟฟ้าสายสีส้มเดิมช่วงสามเสน (หอสมุดแห่งชาติ)-บางกะปิ มาต่อขยายเส้นทางจากสามเสน (ซังฮี้) ไปยังบางบำหรุ กลายเป็นเส้นทางบางบำหรุ-บางกะปิที่กำหนดให้เป็นสายสีส้ม บรรจุในแผนแม่บทฯ ของ[[สำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร|สำนักนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร]] (สนข.) เป็นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2547 ต่อมาแนวเส้นทางส่วนต่อขยายช่วง[[บางกะปิ]] - [[มีนบุรี]] ได้แยกออกไปเป็นเส้นทาง[[รถไฟฟ้าสายสีน้ำตาล]]เมื่อปี พ.ศ. 2548 แต่จากการปรับแผนแม่บทฯ เมื่อปี พ.ศ. 2552 จึงได้นำกลับมารวมกันเป็นเส้นทางสายสีส้มช่วงบางบำหรุ - มีนบุรีอีกครั้งหนึ่ง โดยในปี พ.ศ. 2553 ได้แก้ไขแนวเส้นทางบางส่วนโดยสลับกับโครงข่ายในเมืองของ[[รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงอ่อน]] ทำให้แนวเส้นทางของรถไฟฟ้าสายสีส้มกลายเป็นตลิ่งชัน - มีนบุรี และใน พ.ศ. 2554 ก็ได้มีการแก้ไขแบบแผนอีกครั้ง โดยตัดเส้นทางจากเดิมที่จะไปสิ้นสุดที่ตลิ่งชัน ให้มาสุดอยู่แค่แยกจรัญสนิทวงศ์เนื่องจากเส้นทางทับซ้อนกับ[[รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดงอ่อน|สายสีแดงอ่อน]]ช่วง[[บางซื่อ]] - [[ตลิ่งชัน]] - [[ศาลายา]] ทำให้แนวเส้นทางของรถไฟฟ้าสายสีส้มเหลือเพียงแค่ บางขุนนนท์ - มีนบุรี ต่อมาในปี พ.ศ. 2556 ได้มีการแก้ไขเส้นทาง ขยายเส้นทางรถไฟฟ้าสายสีส้มถึงตลิ่งชันอีกครั้ง <ref>http://www.thairath.co.th/content/region/340161</ref>
 
ปัจจุบัน โครงการรถไฟฟ้ามหานคร สายสีส้ม ได้แบ่งการดำเนินงานออกเป็น 2 ส่วน คือเส้นทางตะวันตกช่วง[[สถานีบางขุนนท์|บางขุนนท์]] - [[สถานีศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย (รถไฟฟ้าสายสีส้มและสายสีน้ำเงิน)|ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย]] และเส้นทางตะวันออกช่วงศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย - [[เขตบางกะปิสถานีแยกสุวินทวงศ์|บางกะปิแยกสุวินทวงศ์]] - [[เขตมีนบุรี|มีนบุรี]]<ref name="M-MAPSEMINAR3"/> ทั้งหมดอยู่ในแผนเร่งรัด 4 ปีของรัฐบาล โดยจะเริ่มก่อสร้างเส้นทาง [[มีนบุรี]] - [[บางกะปิ]] - [[ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย]] ก่อนเป็นอันดับแรก '''ซึ่งปัจจุบันอยู่ในระหว่างการก่อสร้างโครงการในส่วนเส้นทางช่วงตะวันออกทั้งโครงการ'''เป็นอันดับแรก คาดว่าจะเปิดใช้งานได้อย่างเป็นทางการใน พ.ศ. 2566 ส่วนโครงการช่วงตะวันตกเส้นทางบางขุนนนท์ - ศูนย์วัฒนธรรมฯ อยู่ในระหว่างการพิจารณาโครงการและร่างสัญญาให้เอกชนร่วมลงทุนโครงการโดยคณะรัฐมนตรี
 
==ภาพรวม==
==พื้นที่เส้นทางผ่าน==
เป็นระบบรถไฟฟ้าที่มีทั้งโครงสร้างใต้ดินและยกระดับ มีแนวเส้นทางที่เชื่อมโยงการเดินทางในแนวตะวันออก-ตะวันตกของกรุงเทพมหานคร เริ่มต้นจากจุดตัดทางรถไฟสายธนบุรี (สายใต้เดิม) กับถนนจรัญสนิทวงศ์ ลอดใต้แม่น้ำเจ้าพระยาเข้าสู่ใจกลางเกาะรัตนโกสินทร์ ผ่านย่านที่สำคัญในพื้นที่เมืองเก่าเขตดุสิต และเขตพระนคร ผ่านสถานที่สำคัญหลายแห่ง เช่น [[โรงพยาบาลศิริราช]] [[มณฑลพิธีท้องสนามหลวง]] [[อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย]] จากนั้นเข้าสู่ย่านการค้าใจกลางเมืองบริเวณแยกประตูน้ำ แล้วมุ่งขึ้นทางเหนือเข้าสู่ศูนย์ราชการกรุงเทพมหานคร และ[[ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร]]แห่งใหม่ (อาคารนพรัตน์ราชธานี) ชุมชนประชาสงเคราะห์ ออกสู่ถนนรัชดาภิเษก ถนนพระราม 9 และถนนรามคำแหง สิ้นสุดโครงการบริเวณชานเมืองทิศตะวันออกของกรุงเทพมหานครบริเวณจุดตัดถนนรามคำแหงกับถนนสุวินทวงศ์ รวมระยะทางประมาณ 34.8 กิโลเมตร เป็นเส้นทางที่เน้นการขนส่งผู้โดยสารจากชานเมืองทิศตะวันออกเข้าสู่ใจกลางเมืองและย่านเมืองเก่าทางทิศตะวันตกของกรุงเทพมหานครได้อย่างรวดเร็ว
 
===พื้นที่เส้นทางผ่าน===
{| class="wikitable"
|-
เส้น 84 ⟶ 86:
 
=== ศูนย์ซ่อมบำรุงและศูนย์ควบคุมการเดินรถ ===
จะมีศูนย์ซ่อมบำรุงอยู่บนพื้นที่ขนาด 155 ไร่ บริเวณ รฟม. [[ถนนพระราม 9]] (ติดกันกับที่ทำการของ [[ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ|บริษัท ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ จำกัด (มหาชน)]]) ซึ่งเป็นพื้นที่ร่วมกับของโครงการ[[รถไฟฟ้ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล]] แต่ได้มีการยกเลิกศูนย์ซ่อมบำรุงย่อยมีนบุรีบริเวณถนนรามคำแหง (สุขาภิบาล 3) ใกล้กับแยกร่มเกล้า โดยแต่เดิมนั้นเคยวางแผนจะใช้เป็นศูนย์ซ่อมบำรุงที่ใช้พื้นที่ร่วมกับ โครงการ[[รถไฟฟ้าสายสีชมพู]]
 
=== สิ่งอำนวยความสะดวก ===
มีอาคาร[[จอดแล้วจร]] (parkPark and rideRide) ที่สถานีมีนบุรี (เชื่อมต่อกับรถไฟฟ้าสายสีชมพู) สถานีศูนย์วัฒนธรรมฯ(เชื่อมต่อรถไฟฟ้าสายสีน้ำเงิน)วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย และสถานีคลองบ้านม้า <ref name="mrta"/>
 
=== สถานี ===
มีทั้งหมด 29 สถานี เป็นสถานีใต้ดินทั้งหมด 22 สถานี (บางขุนนนท์ - ตลองบ้านม้า) และเป็นสถานียกระดับทั้งหมด 7 สถานี (สัมมากร - สุวินทวงศ์)
 
;รูปแบบสถานี
เส้น 117 ⟶ 119:
! ผู้ชนะการประมูล
! หมายเหตุ
! ความคืบหน้า <br> <small> (ภาพรวม 42'''.27''' % เร็วกว่าแผน 2.01 %<br>ณ สิ้นเดือน กรกฎาคม 2562<ref>https://www.facebook.com/MRTA.PRMRTOrangeLineEast/photos/apcb.1433440196872710585682481911107/2293373100879411585680015244687/?type=3&theater</ref></small><ref>http://www.mrta.co.th/th/projectelectrictrain/construction_progress_report/</ref><small>) </small>
|-
| 1 || งานออกแบบควบคู่การก่อสร้างโครงสร้างส่วนใต้ดิน ช่วงศูนย์วัฒนธรรมฯ-รามคำแหง 12<br>ระยะทาง {{km to mi|6.29|abbr=yes|precision=2|wiki=yes}} || 20,698 || กิจการร่วมค้าซีเคเอสที<br>{{small|(บมจ. ช.การช่าง และ บมจ.ซิโน-ไทย เอ็นจีเนียริ่ง แอนด์ คอนสตรัคชั่น)}} || || 53.39 % (เร็วกว่าแผน 0.21 %)
เส้น 207 ⟶ 209:
| align="center"|[[ไฟล์:MRT_(Bangkok)_Orange_Logo.svg|20px]] '''OR15'''||[[สถานีวัดพระราม 9|วัดพระราม 9]] || Wat Pha Ram Kao || 16.17 || ''{{BTS Lines|รถไฟฟ้าสายสีเทา}} <font color={{BTS color|รถไฟฟ้าสายสีเทา}}>[[สถานีพระราม 9 (รถไฟฟ้าสายสีเทา)|สถานีพระราม 9]]</font> || บางกะปิ
|-
| align="center"|[[ไฟล์:MRT_(Bangkok)_Orange_Logo.svg|20px]] '''OR16'''|| [[สถานีอุดมยศรามคำแหง 12|อุดมยศรามคำแหง 12]] || UdomRamkhamhaeng Yot12 || 18.32 || '''{{BTS Lines|เรือโดยสารคลองแสนแสบ}} ท่าเดอะมอลล์ 3''' || rowspan = "6" | หัวหมาก || rowspan = "6" | [[เขตบางกะปิ|บางกะปิ]]
|-
| align="center"|[[ไฟล์:MRT_(Bangkok)_Orange_Logo.svg|20px]] '''OR17'''|| [[สถานีมหาวิทยาลัยรามคำแหง|มหาวิทยาลัยรามคำแหง]] || Ramkhamhaeng University || 19.53 || '''{{BTS Lines|เรือโดยสารคลองแสนแสบ}} ท่า ม.รามคำแหง'''
เส้น 213 ⟶ 215:
| align="center"|[[ไฟล์:MRT_(Bangkok)_Orange_Logo.svg|20px]] '''OR18'''|| [[สถานีราชมังคลา|ราชมังคลา]] || Rajamangala || 20.48 || '''{{BTS Lines|เรือโดยสารคลองแสนแสบ}} ท่าสะพานมหาดไทย'''
|-
| align="center"|[[ไฟล์:MRT_(Bangkok)_Orange_Logo.svg|20px]] '''OR19'''||[[สถานีเกศรีรามคำแหง 34|เกศรีรามคำแหง 34]] || KasariRamkhamhaeng 34 || 21.75 ||
|-
| align="center"|[[ไฟล์:MRT_(Bangkok)_Orange_Logo.svg|20px]] '''OR20'''|| [[สถานีแยกลำสาลี|แยกลำสาลี]] || Yaek Lam Sali || 22.75 || ''{{BTS Lines|รถไฟฟ้าสายสีเหลือง}} <font color={{BTS color|รถไฟฟ้าสายสีเหลือง}}>[[สถานีแยกลำสาลี]]</font><br>{{BTS Lines|รถไฟฟ้าสายสีน้ำตาล}} <font color={{BTS color|รถไฟฟ้าสายสีน้ำตาล}}>[[สถานีแยกลำสาลี]]</font>'' <br> '''{{BTS Lines|เรือโดยสารคลองแสนแสบ}} ท่าเดอะมอลล์บางกะปิ'''