ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อุเบกขา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
แทนที่เนื้อหาด้วย "{{พุทธศาสนา}} ไม่มีเนื้อหาใดๆ เข้ามาทำไมครับ หมวดหม..."
บรรทัด 1:
{{พุทธศาสนา}}
ไม่มีเนื้อหาใดๆ เข้ามาทำไมครับ
'''อุเบกขา''' ([[ภาษาบาลี]]: อุเปกขา [[ภาษาสันสกฤต]]: อุเปกษา) แปลว่า ความวางเฉย ความวางใจ เป็นกลาง
 
'''อุเบกขา''' หมายถึง ความวางเฉยแบบวางใจเป็นกลางๆ โดยไม่เอนเอียงเข้าข้างเพราะชอบ เพราะชัง เพราะหลงและเพราะกลัว เช่นไม่เสียใจเมื่อคนที่ตนรักถึงความวิบัติ หรือไม่ดีใจเมื่อศัตรูถึงความวิบัติ มิใช่วางเฉยแบบไม่แยแสหรือไม่รู้ไม่ชี้ ทั้งๆ ที่สามารถช่วยเหลือได้เป็นต้น
 
ลักษณะของผู้มีอุเบกขา คือเป็นคนหนักแน่นมี[[สติ]]อยู่เสมอ ไม่ดีใจไม่เสียใจจนเกินเหตุ เป็นคนยุติธรรม ยึดหลักความเป็นผู้ใหญ่ รักษาความเป็นกลางไว้ได้มั่นคงไม่เอนเอียงเข้าข้าง ปฏิบัติหน้าที่ด้วยเหตุผลถูกต้องคลองธรรม และเป็นผู้วางเฉยได้เมื่อไม่อาจประพฤติ[[เมตตา]] [[กรุณา]] หรือ[[มุทิตา]]ได้
== อุเบกขา10ประเภท ==
#'''ฉฬงฺคุเปกขา''' อุเบกขาประกอบด้วย องค์ 6 คือ การวางเฉยใน[[อายตนะ]]ทั้ง 6
#'''พฺรหฺมวิหารุเปกฺขา''' อุเบกขาใน[[พรหมวิหาร]]
#'''โพชฺฌงฺคุเปกฺขา''' อุเบกขาใน[[โพชฌงค์]] คือ อุเบกขาซึ่งอิงวิราคะ อิง[[วิเวก]]
#'''วิริยุเปกฺขา''' อุเบกขาใน [[วิริยะ]] คือ [[ทางสายกลาง]]ในการทำความเพียร ไม่หย่อนเกินไป ไม่ตึงเกินไป
#'''สงฺขารุเปกขา''' อุเบกขาในสังขาร คือ[[การไม่ยึดมั่นถือมั่น]]ใน[[ขันธ์]] 5
#'''เวทนูเปกฺขา''' อุเบกขาใน[[เวทนา]] ไม่ใช่ทุกข์ ไม่ใช่สุข
#'''วิปสฺสนูเปกขา''' อุเบกขาใน[[วิปัสสนา]] อันเกิดจากเห็น[[อนิจจัง]] [[ทุกขัง]] [[อนัตตา]]
#'''ตตฺรมชูฌตฺตุเปกขา''' อุเบกขาใน[[เจตสิก]] หรืออุเบกขา ที่ยังธรรมทั้งหลาย ที่เกิดพร้อมกันให้เป็นไปเสมอกัน
#'''ฌานุเปกฺขา''' อุเบกขาใน[[ฌาน]]
#'''ปาริสุทฺธุเปกฺขา''' อุเบกขาบริสุทธิ์จากข้าศึก คือมี[[สติ]]บริสุทธิ์ เพราะอุเบกขา<ref>หนังสือ วิสุทธิมรรค 1 / 84 - 89 / 473 - 179 </ref>
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{เริ่มอ้างอิง}}
* [[พระธรรมกิตติวงศ์]] (ทองดี สุรเตโช) ป.ธ. ๙ [[ราชบัณฑิต]] ''พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด '''คำวัด,''' '' [[วัดราชโอรสาราม]] กรุงเทพฯ พ.ศ. 2548
{{จบอ้างอิง}}
 
{{พรหมวิหารสี่}}
[[หมวดหมู่:พรหมวิหารสี่]]
[[หมวดหมู่:อภิธานศัพท์ศาสนาพุทธ]]