ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เสียง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่อาจเป็นการทดลอง หรือก่อกวนด้วยบอต ไม่ควรย้อน? แจ้งที่นี่
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Processing of sound.jpg|thumb|right|300px|แผนภูมิแสดงการได้ยินเสียง (น้ำเงิน : [[คลื่นเสียง]]; แดง: [[แก้วหู]]; เหลือง: [[คลอเคลีย]]; เขียว: [[สเตอริโอซีเลีย|เซลล์รับรู้การได้ยิน]]; ม่วง : [[สเปกตรัมความถี่]] ของการตอบสนองการได้ยิน; ส้ม: [[อิมพัลส์ประสาท]])]]
คิดเองดิ
'''เสียง''' เป็นคลื่นเชิงกลที่เกิดจากการสั่นสะเทือนของวัตถุ เมื่อวัตถุสั่นสะเทือน ก็จะทำให้เกิดการอัดตัวและขยายตัวของ[[คลื่นเสียง]] และถูกส่งผ่านตัวกลาง เช่น [[อากาศ]] ไปยัง[[หู]] แต่เสียงสามารถเดินทางผ่านสสารในสถานะ[[ก๊าซ]] [[ของเหลว]] และ[[ของแข็ง]]ก็ได้ แต่ไม่สามารถเดินทางผ่าน[[สุญญากาศ]]ได้
 
เมื่อการสั่นสะเทือนนั้นมาถึงหู มันจะถูกแปลงเป็นพัลส์ประสาท ซึ่งจะถูกส่งไปยัง[[สมอง]] ทำให้เรารับรู้และจำแนกเสียงต่างๆ ได้
 
== การเกิดเสียง ==
เสียง เริ่มเกิดขึ้นเมื่อวัตถุหรือแหล่งกำเนิดเสียงมีการสั่นสะเทือนส่งผลต่อการเคลื่อนที่ของโมเลกุลของอากาศที่อยู่โดยรอบ กล่าวคือโมเลกกุลของอากาศเหล่านี้จะเคลื่อนที่จากตำแหน่งเดิมไปชนกับโมเลกุลที่อยู่ถัดไป ก่อให้เกิดการถ่ายโอนโมเมนตัมจากโมเลกุลที่มีการเคลื่อนที่ให้กับโมเลกุลที่อยู่ในสภาวะปกติ จากนั้นโมเลกุลที่ชนกันนี้จะแยกออกจากกันโดยโมเลกุลที่เคลื่อนที่มาจะถูกดึงกลับไปยังตำแหน่งเดิมด้วยแรงปฏิกิริยาและโมเลกุลที่ได้รับการถ่ายโอนพลังงานจะเคลื่อนที่ไปชนกับโมเลกุลที่อยู่ถัดไป ปรากฏการณ์นี้จะเกิดขึ้นสลับกันไปมาได้เมื่อสื่อกลาง (ในที่นี้คืออากาศ) มีคุณสมบัติของความยืดหยุ่น การเคลื่อนที่ของโมเลกุลอากาศนี้จึงเกิดเป็นคลื่นเสียง
 
== คุณลักษณะของเสียง ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/เสียง"