ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โน้ตดนตรี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{ความหมายอื่น|ดนตรี||โน้ต}}
 
[[ไฟล์:Treble a.svg|right|250px|thumb|โน้ต ''เอ'' หรือ ''ลา'']]
'''โน้ต''' ในทางดนตรี มีความหมายได้สองทขบึจคััััััััััััััสรรรรรรรรัเีั่าราสรสรสา่ะัชขจต
'''โน้ต''' ในทางดนตรี มีความหมายได้สองทาง หมายถึง สัญลักษณ์ต่าง ๆ ที่ใช้ในการนำเสนอ[[ระดับเสียง]] และความยาวของ[[เสียง]] หรือหมายถึงตัวเสียงเองที่เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์เหล่านั้น โน้ตดนตรีแต่ละเสียงจะมีชื่อเรียกประจำของมันเองในแต่ละภาษา เช่น โดเรม่อน-โดเรมี่-โนบิตะ-ลา-ที บางครั้งอาจเขียน[[อักษรละติน]] A ถึง H แทนโน้ตดนตรี
 
== ชื่อโน้ตดนตรี ==
{| class="wikitable" style="text-align: center; table-layout: fixed; width: 620px;"
! style="width: 200px;" | เสียงต่างๆ
! I || || II || || III || IV || || V || || VI || || VII
|-
! style="text-align:left" | [[เนเชอรัล]]
| bgcolor="white" | C || bgcolor="gray" | || bgcolor="white" | D || bgcolor="gray" |
| bgcolor="white" | E || bgcolor="white" | F || bgcolor="gray" |
| bgcolor="white" | G || bgcolor="gray" |
| bgcolor="white" | A || bgcolor="gray" | || bgcolor="white" |B
|-
! style="text-align:left" | [[ชาร์ป]]
| || C{{music|sharp}} || || D{{music|sharp}} || || || F{{music|sharp}} || || G{{music|sharp}} || || A{{music|sharp}} ||
|-
! style="text-align:left" | [[แฟลต (ดนตรี)|แฟลต]]
| || D{{music|flat}} || || E{{music|flat}} || || || G{{music|flat}} || || A{{music|flat}} || || B{{music|flat}} ||
|- style="background-color:black;height:3px;"
| colspan="13" |
|-
! style="text-align:left" | เนเชอรัล (ยุโรปเหนือ)
| C || || D || || E || F || || G || || A || || H
|-
! style="text-align:left" | ชาร์ป (ยุโรปเหนือ)
| || Cis || || Dis || || || Fis || || Gis || || Ais ||
|-
! style="text-align:left" | แฟลต (ยุโรปเหนือ)
| || Des || || Es || || || Ges || || As || || B ||
|-
! style="text-align:left" | ชื่ออื่นๆ (ยุโรปเหนือ)
| - || - || - || - || - || - || - || - || - || - || Bes || B
|- style="background-color:black;height:3px;"
| colspan="13" |
|-
! style="text-align:left" |
แบบ moveable(ascending)
| Do || Di || Re || Ri || Mi || Fa || Fi || Sol || Si || La || Li || Ti
|-
! style="text-align:left" | แบบ moveable (descending)
|Do || Ra || Re || Me || Mi || Fa || Se || Sol || Le || La || Te || Ti
|-
! style="text-align:left" | ยุโรปใต้
| Do || || Re || || Mi || Fa || || Sol || || La || || Si
|-
! style="text-align:left" | ชื่ออื่นๆ
| Ut || || - || || - || - || || So || || - || || Ti
|-
! style="text-align:left" | แบบอินเดีย
| Sa || || Re || || Ga || Ma || || Pa || || Da || || Ni
|-
! style="text-align:left" | แบบเกาหลี
| Da || || Ra || || Ma || Ba || || Sa || || Ga || || Na
|-
! style="text-align:left" | ความถี่เสียงโดยประมาณ ([[เฮิรตซ์]])
| 262 || 277 || 294 || 311 || 330 || 349 || 370 || 392 || 415 || 440 || 466 || 494
|-
! style="text-align:left" | หมายเลขโน้ต [[MIDI]]
| 60 || 61 || 62 || 63 || 64 || 65 || 66 || 67 || 68 || 69 || 70 || 71
|-
! style="text-align:left" |ชื่อไทยที่นิยม
| ด ||#ด
| ร ||#ร
| ม || ฟ ||#ฟ
| ซ ||#ซ
| ล ||#ล
|ท
|}
 
== ชื่อเรียกตัวโน้ตในบันไดเสียงไดอาโทนิก ==
* โน้ตตัวที่ 1 เรียกว่า โทนิก (Tonic)
* โน้ตตัวที่ 2 เรียกว่า ซุปเปอร์โทนิก (Supertonic)
* โน้ตตัวที่ 3 เรียกว่า มีเดียน (Mediant)
* โน้ตตัวที่ 4 เรียกว่า ซับโดมิแนนท์ (Subdominant)
* โน้ตตัวที่ 5 เรียกว่า โดมิแนนท์ (Dominant)
* โน้ตตัวที่ 6 เรียกว่า ซับมีเดียน (Submediant)
* โน้ตตัวที่ 7 เรียกว่า ลีดดิ้งโน้ต หรือลีดดิ้งโทน (Leading note or Leading tone)
 
== ตัวโน้ตที่ใช้เขียน ==
ตัวโน้ตหนึ่งตัวที่ใช้สำหรับบันทึกบทเพลงจะมี[[ค่าของโน้ต]]หนึ่งค่า นั่นคือ[[ระยะเวลา]]ในการออกเสียงของตัวโน้ต เช่น ตัวดำ ตัวเขบ็ตหนึ่งชั้น เป็นต้น เมื่อตัวโน้ตต่างๆ ถูกเขียนลงบน[[บรรทัดห้าเส้น]] ตัวโน้ตแต่ละตัวจะถูกวางไว้บนตำแหน่งที่แน่นอนตามแนวตั้ง (คาบเส้นบรรทัดหรือระหว่างช่องบรรทัด) และกำหนดระดับเสียงที่แน่นอนด้วย[[กุญแจประจำหลัก]] เส้นแต่ละเส้นและช่องว่างแต่ละช่องถูกตั้งชื่อตามเสียงของโน้ต ซึ่งชื่อเหล่านี้เป็นที่จดจำโดย[[นักดนตรี]] ทำให้นักดนตรีทราบได้ว่าจุดใดควรจะเล่นเครื่องดนตรีด้วยระดับเสียงใด ตามตำแหน่งหัวของโน้ตบนบรรทัด ตัวอย่างเช่น
 
[[ไฟล์:C Major scale (up and down).svg|500px|center|บันไดเสียง C major]]
 
บรรทัดห้าเส้นด้านบนแสดงให้เห็นถึงเสียงโน้ต C4, D4, E4, F4, G4, A4, B4, C5 ตามตัวโน้ตที่วางอยู่บนตำแหน่งต่างๆ แล้วจากนั้นไล่ระดับเสียงลง โดยไม่มี[[เครื่องหมายตั้งบันไดเสียง]]หรือ[[เครื่องหมายแปลงเสียง]]
 
{| class="wikitable"
|-
! ภาพ !! ชื่อตัวโน้ต !! จังหวะ<br />(ในอัตราจังหวะ <sup>4</sup>/<sub>4</sub>)
|-
| [[ไฟล์:WholeNote.svg|20px|thumbnill]] || โน้ตตัวกลม || 4 จังหวะ
|-
| [[ไฟล์:Figure rythmique blanche hampe haut.svg|thumbnill]] || โน้ตตัวขาว || 2 จังหวะ
|-
| [[ไฟล์:Figure rythmique noire hampe haut.svg|thumbnill]] || โน้ตตัวดำ || 1 จังหวะ
|-
| [[ไฟล์:Figure_rythmique croche hampe haut.svg|thumbnill]] || โน้ตตัวเขบ็ต 1 ชั้น || ครึ่งจังหวะ
|}
โน้ตตัวกลม ( Whole Note ) 1 ตัว = ตัวขาว 2 ตัว หรือตัวดำ 4 ตัว
 
ดำำำำำำำำำำำำำำำกกกกกกกกกหำด
โน้ตตัวขาว ( Half Note ) 1 ตัว = ตัวดำ 2 ตัว
 
โน้ตตัวดำ ( Quarter Note ) 1 ตัว = ตัวเขบ็ต 1 ชั้น 2 ตัว
 
โน้ตตัวเขบ็ต ( Eight Note ) 1 ตัว = ตัวเขบ็ต 2 ชั้น 2 ตัว
 
== ความถี่ของโน้ต ==
ในทางเทคนิค ดนตรีสามารถสร้างขึ้นได้จากโน้ตที่มี[[ความถี่]]ของเสียงใดๆ ก็ได้ เนื่องจากเสียงเกิดจากการสั่นสะเทือนของวัตถุและวัดได้ในหน่วย[[เฮิรตซ์]] (Hz) ซึ่ง 1 เฮิรตซ์เท่ากับการสั่นครบหนึ่งรอบต่อ[[วินาที]] ตั้งแต่สมัยก่อนมีเพียงโน้ตที่มีความถี่คงตัวแค่ 12 เสียงเท่านั้นโดยเฉพาะดนตรีตะวันตก ซึ่งความถี่เสียงคงตัวเหล่านี้มีความสัมพันธ์ทางคณิตศาสตร์ต่อกัน และถูกนิยามไว้ที่โน้ตตัวกลาง A4 (เสียงลา อ็อกเทฟที่สี่) ซึ่งเป็นสาเหตุที่เสียงลาเริ่มต้นเขียนแทนด้วยอักษร A ปัจจุบันโน้ต A4 มีความถี่อยู่ที่ 440 เฮิรตซ์ (ไม่มีเศษทศนิยม)
 
หลักการตั้งชื่อโน้ตจะระบุเป็น[[อักษรละติน]] เครื่องหมายแปลงเสียง (ชาร์ป/แฟลต) และหมายเลข[[อ็อกเทฟ]]ตามลำดับ โน้ตทุกตัวจะมีเสียงสูงหรือต่ำกว่า A4 เป็น[[จำนวนเต็ม]] ''n'' [[ครึ่งเสียง]] นั่นหมายความว่าโน้ตที่มีเสียงสูงกว่า ''n'' จะเป็น[[จำนวนบวก]] หากเสียงต่ำกว่า ''n'' จะเป็น[[จำนวนลบ]] ความถี่ ''f'' ของโน้ตตัวอื่นเมื่อเทียบกับโน้ต A4 จึงมีความสัมพันธ์ดังนี้
::<math>f = 2^{(n/12)} \times 440 \mbox{ Hz}</math>
 
ตัวอย่างเช่น เราสามารถคำนวณหาความถี่ของโน้ต C5 ซึ่งเป็นโน้ต C ตัวแรกที่อยู่สูงกว่า A4 และโน้ตดังกล่าวมีระดับเสียงที่สูงกว่า A4 เป็นจำนวน 3 ครึ่งเสียง (A4 → A{{music|♯}}4 → B4 → C5) จะได้ ''n'' = +3 ดังนั้นความถี่ของโน้ต C5 คือ
::<math>f = 2^{(3/12)} \times 440 \mbox{ Hz} \approx 523.2511 \mbox{ Hz}</math>
 
หรืออย่างโน้ตที่มีระดับเสียงต่ำกว่า A4 เช่น โน้ต F4 มีระดับเสียงต่ำกว่า A4 เป็นจำนวน 4 ครึ่งเสียง (A4 → A{{music|♭}}4 → G4 → G{{music|♭}}4 → F4) จะได้ ''n'' = −4 ดังนั้นความถี่เสียงของ F4 คือ
::<math>f = 2^{(-4/12)} \times 440 \mbox{ Hz} \approx 349.2290 \mbox{ Hz}</math>
 
<br />
และสุดท้าย สูตรดังกล่าวสามารถใช้เปรียบเทียบความถี่ของโน้ตชื่อเดียวกันแต่ต่างอ็อกเทฟได้ ซึ่ง ''n'' จะกลายเป็นพหุคูณของ 12 ถ้ากำหนดให้ ''k'' เป็นจำนวนอ็อกเทฟส่วนต่างที่มากกว่าหรือน้อยกว่า A4 เช่นโน้ต A5 จะได้ ''k'' = +1 หรือโน้ต A2 จะได้ ''k'' = −2 เป็นต้น สามารถลดรูปสูตรได้เหลือเพียง
::<math>f = 2^{(12k/12)} \times 440 \mbox{ Hz} = 2^k \times 440 \mbox{ Hz}</math>
 
ทำให้เกิดผลว่า สำหรับโน้ตที่ชื่อเดียวกันในหนึ่งช่วงอ็อกเทฟ โน้ตในระดับสูงกว่าจะมีความถี่เป็นสองเท่าของโน้ตในระดับต่ำกว่า หรือด้วยอัตราความถี่ 2:1 และหนึ่งช่วงอ็อกเทฟมี 12 ครึ่งเสียง
 
นอกจากนี้ความถี่ของเสียงมีการวัดโดยละเอียดเป็นหน่วย[[เซนต์ (ดนตรี)|เซนต์]] (cent) โดยหนึ่งครึ่งเสียงจะมีค่าเท่ากับ 100 เซนต์ นั่นหมายความว่า 1200 เซนต์จะเท่ากับ 1 อ็อกเทฟ และตัวคูณ 1 เซนต์บนความถี่เสียงจะมีค่าเท่ากับรากที่ 1200 ของ 2 หรือเท่ากับประมาณ 1.0005777895
 
สำหรับการใช้กับระบบ [[MIDI]] มาตรฐาน ความถี่เสียงของโน้ตจะจับคู่กับหมายเลข ''p'' ตามสูตรนี้
::<math>p = 69 + 12 \times \log_2{ \left ( \frac{f}{440} \right ) }</math>
 
ทำให้โน้ต A4 จับคู่อยู่กับโน้ตหมายเลข 69 ในระบบ MIDI และทำให้เติมเต็มช่วงความถี่อื่นๆ ที่ไม่ตรงกับความถี่สากลมาเป็นหมายเลขของโน้ตได้อีกด้วย
 
<br>
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://www.folkpeople.com/guitar-chord/ คอร์ดกีตาร์]
 
{{สัญกรณ์ดนตรี}}
 
[[หมวดหมู่:สัญกรณ์ดนตรี]]