ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อีเมล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 8465390 สร้างโดย 2001:44C8:42D0:D87B:1:1:1EEA:D6AD (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
ISO
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 4:
 
== การสะกดคำ ==
การสะกดคำในภาษาอังกฤษ e-mail และ email เป็นการใช้โดยปกติทั้งคู่ แนวทางในการเขียนเชิงเทคนิคและเชิงข่าวหลายแห่งได้แนะนำว่าให้ใช้ e-mail <ref>{{citeส่วนการสะกดว่า web|url=http://www.chicagomanualofstyle.org/CMS_FAQ/HyphensEnDashesEmDashes/HyphensEnDashesEmDashes05.html|title=Hyphens,email Enนั้นก็มีการยอมรับโดยพจนานุกรมหลายเล่มเช่นกัน Dashes,ในเอกสารขอความเห็น Emดั้งเดิมไม่ได้สะกดคำอย่างใดอย่างหนึ่งข้างต้น Dashesเพียงแค่กล่าวถึงการบริการนั้นว่า -mail Q&A|accessdate=2008-05-18}}</ref><ref>[http://safari.oreilly.com/0735617465และอีเมลฉบับหนึ่ง O'Reilly -ก็เรียกว่า Safariเมสเสต Books Onlineนอกจากนั้นรูปพหูพจน์ e-mails 0735617465 - Microsoft Manual of Style for Technical Publications Third Edition]</ref><ref>[http://standards.ieee.org/guides/style/annexa.html 2007 IEEE Standards Style Manual-Annexหรือ A]</ref><refemails name=APStyleBook>[http://www.apstylebook.com/ask_editor.phpก็เป็นที่ยอมรับเช่นเดียวกัน APStylebook.com]</ref>
ส่วนการสะกดว่า email นั้นก็มีการยอมรับโดยพจนานุกรมหลายเล่มเช่นกัน <ref>[http://dictionary.reference.com/browse/email Reference.com]</ref><ref>Random House Unabridged Dictionary, 2006</ref><ref>The American Heritage Dictionary of the English Language, Fourth Edition</ref><ref>Princeton University WordNet 3.0</ref><ref>The American Heritage Science Dictionary, 2002</ref>
ใน[[เอกสารขอความเห็น]] (RFC) ดั้งเดิมไม่ได้สะกดคำอย่างใดอย่างหนึ่งข้างต้น เพียงแค่กล่าวถึงการบริการนั้นว่า mail และอีเมลฉบับหนึ่ง ๆ ก็เรียกว่า message <ref>[http://www.faqs.org/rfcs/rfc821.html RFC 821 (rfc821) - Simple Mail Transfer Protocol]</ref><ref name="11above">[http://www.faqs.org/rfcs/rfc1939.html RFC 1939 (rfc1939) - Post Office Protocol - Version 3]</ref><ref name="12above">[http://www.faqs.org/rfcs/rfc3501.html RFC 3501 (rfc3501) - Internet Message Access Protocol - version 4rev1]</ref>
นอกจากนั้นรูปพหูพจน์ e-mails หรือ emails ก็เป็นที่ยอมรับเช่นเดียวกัน <ref name=APStyleBook/>
 
เอกสารขอความเห็นใหม่ ๆ และ[[คณะทำงานเฉพาะกิจด้านวิศวกรรมอินเทอร์เน็ต]] (IETF) เลือกที่จะใช้คำว่า email เพื่อการขึ้นต้นอักษรตัวใหญ่ การแบ่งยัติภังค์ และการสะกดคำศัพท์ <ref>{{cite web |url=http://www.rfc-editor.org/rfc-style-guide/rfc-style-manual-08.txt |title=RFC Document Style |accessdate=2008-11-24 |author=R. Braden |coauthors=S. Ginoza; A. Hagens |date=2007-11-30 |work=Style Guide |publisher=[[RFC Editor]]}} That refers to [http://www.rfc-editor.org/rfc-style-guide/terms-online-03.txt terms-online] that explicitly requires ''email'' spelling.</ref>
 
[[โดนัลด์ คนูธ]] (Donald Knuth) พิจารณาว่าการสะกดว่า e-mail นั้นล้าสมัย และได้หมายเหตุไว้ว่าคนในสหราชอาณาจักรส่วนใหญ่สะกดเป็น email กัน ในภาษาอื่นของยุโรปบางภาษา คำว่า email นั้นไปพ้องกับคำว่า enamel (สิ่งเคลือบ) <ref>http://www-cs-faculty.stanford.edu/~knuth/email.html - this page is undated but has been in the [[Internet Archive]] since 1997 (with a time stamp of 1996), and may be as old as 1991 according to [http://www.webmasterworld.com/content_copywriting/3107680.htm a blog post]</ref>
 
ในภาษาไทย "อีเมล" เป็นการสะกดตาม[[ศัพท์บัญญัติ]]จาก[[ราชบัณฑิตยสถาน]] ซึ่งบัญญัติไว้ตั้งแต่ พ.ศ. 25442556 <ref>[http://rirs3.royin.go.th/coinages/webcoinage.php ศัพท์บัญญัติ ราชบัณฑิตยสถาน]</ref>รูปแบบทำได้
ในรูปไทยเดิม"รูปแบบทำได้"ตั้งใว้ใหม่[tmsd]
 
== ประวัติ ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/อีเมล"