ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ชาวไทย (คุย | ส่วนร่วม)
เปลี่ยนธงเป็นไฟล์ที่ถูกต้อง
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Wedjet (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ระวังสับสน|เขมรแดง}}
{{กล่องข้อมูล พรรคการเมือง
| ชื่อพรรค = พรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชา<br />គណបក្សកុំមុយនីសកម្ពុជា
เส้น 18 ⟶ 19:
|country = กัมพูชา
}}
'''พรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชา''' ({{lang-en|Communist Party of Kampuchea}}; {{lang-km|គណបក្សកុំមុយនីសកម្ពុជា}}; '''CPK''') หรือ'''พรรคคอมมิวนิสต์เขมร''' ({{lang-en|Khmer Communist Party}}),<ref>[http://www.country-data.com/frd/cs/cambodia/kh_appnb.html Cambodia and the '''Khmer People's Revolutionary Party''' '''(KPRP)''', Appendix B - Major Political and Military Organizations]</ref> เป็นพรรคคอมมิวนิสต์ในกัมพูชา ซึ่งต่อมา กลุ่มที่ได้ครองอำนาจรัฐใน พ.ศ. 2518 ถูกเรียกว่าเขมรแดง ภายหลังได้แบ่งแยกออกเป็นสองพรรคคือ พรรคกัมพูชาประชาธิปไตยหรือ[[เขมรแดง]] เดิมเรียกตัวเองว่า พรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชา ต่อมาเปลี่ยนเป็นพรรคกัมพูชาประชาธิปไตย พรรคนี้ไม่ได้รับการยอมรับจาก[[พรรคคอมมิวนิสต์เวียดนาม]]ว่าเป็นพรรคคอมมิวนิสต์เสมอกับตนแต่ถือเป็นเพียงสาขาของพรรคเท่านั้น แต่ได้รับการยอมรับและการสนับสนุนจาก[[พรรคคอมมิวนิสต์จีน]] <ref>เขียว สัมพัน. ประวัติศาสตร์กัมพูชากับจุดยืนที่ผ่านมาของข้าพเจ้า. อภิญญา ตะวันออก แปล. กทม.มติชน .2549.</ref> โดยทั่วไปนิยมเรียกว่าเขมรแดงมากกว่า อีกพรรคหนึ่งที่แยกตัวออกไปเมื่อ พ.ศ. 2521 คือ[[พรรคปฏิวัติประชาชนกัมพูชา]] เป็นพรรคที่มีอุดมการณ์แบบคอมมิวนิสต์ที่ได้รับการสนับสนุนจาก[[เวียดนาม]]และ[[สหภาพโซเวียต]] ต่อมาเปลี่ยนเป็น[[พรรคประชาชนกัมพูชา]]
 
{{ความหมายอื่น|พรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชาโดยภาพรวม|กลุ่มเขมรแดงของพล พต|เขมรแดง}}
'''พรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชา''' (Communist Party of Kampuchea; {{lang-km|គណបក្សកុំមុយនីសកម្ពុជា}}; '''CPK''') หรือ'''พรรคคอมมิวนิสต์เขมร''' (Khmer Communist Party),<ref>[http://www.country-data.com/frd/cs/cambodia/kh_appnb.html Cambodia and the '''Khmer People's Revolutionary Party''' '''(KPRP)''', Appendix B - Major Political and Military Organizations]</ref> เป็นพรรคคอมมิวนิสต์ในกัมพูชา ซึ่งต่อมา กลุ่มที่ได้ครองอำนาจรัฐใน พ.ศ. 2518 ถูกเรียกว่าเขมรแดง ภายหลังได้แบ่งแยกออกเป็นสองพรรคคือ พรรคกัมพูชาประชาธิปไตยหรือ[[เขมรแดง]] เดิมเรียกตัวเองว่า พรรคคอมมิวนิสต์กัมพูชา ต่อมาเปลี่ยนเป็นพรรคกัมพูชาประชาธิปไตย พรรคนี้ไม่ได้รับการยอมรับจาก[[พรรคคอมมิวนิสต์เวียดนาม]]ว่าเป็นพรรคคอมมิวนิสต์เสมอกับตนแต่ถือเป็นเพียงสาขาของพรรคเท่านั้น แต่ได้รับการยอมรับและการสนับสนุนจาก[[พรรคคอมมิวนิสต์จีน]] <ref>เขียว สัมพัน. ประวัติศาสตร์กัมพูชากับจุดยืนที่ผ่านมาของข้าพเจ้า. อภิญญา ตะวันออก แปล. กทม.มติชน .2549.</ref> โดยทั่วไปนิยมเรียกว่าเขมรแดงมากกว่า อีกพรรคหนึ่งที่แยกตัวออกไปเมื่อ พ.ศ. 2521 คือ[[พรรคปฏิวัติประชาชนกัมพูชา]] เป็นพรรคที่มีอุดมการณ์แบบคอมมิวนิสต์ที่ได้รับการสนับสนุนจาก[[เวียดนาม]]และ[[สหภาพโซเวียต]] ต่อมาเปลี่ยนเป็น[[พรรคประชาชนกัมพูชา]]
 
== กัมพูชาฝ่ายซ้าย ==
เส้น 62 ⟶ 61:
 
ใน พ.ศ. 2511 เขมรแดงได้ประกาศยึดครองพื้นที่ในกัมพูชา แม้ว่าเวียดนามเหนือไม่ได้ร่วมในการตัดสินใจ แต่ก็ได้ส่งอาวุธให้เขมรแดงเมื่อเริ่มการยึดครอง กองทหารของพรรคได้ประกาศจัดตั้งเป็นกองทัพปฏิวัติแห่งกัมพูชา
== การขึ้นสู่เถลิงอำนาจ ==
ความสำคัญทางการเมืองของเขมรแดงเพิ่มขึ้น ซึ่งเป็นผลมาจากรัฐประหาร พ.ศ. 2513 พระนโรดม สีหนุที่ลี้ภัยไปปักกิ่งได้ตกลงเป็นพันธมิตรกับเขมรแดงและประกาศตนเป็นรัฐบาลพลัดถิ่น ซึ่งมรจีนหนุนหลัง ความนิยมต่อพระนโรดม สีหนุในเขตชนบท ทำให้เขมรแดงแผ่อำนาจได้เร็ว และสามารถยึดครองพื้นที่ส่วนใหญ่ในกัมพูชาได้ ใน พ.ศ. 2516 นักประวัติศาสตร์มักจะกล่าวว่าการแทรกแซงและการทิ้งระเบิดของสหรัฐระหว่าง พ.ศ. 2508 – 2516 เป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้เขมรแดงได้รับความนิยมเพิ่มขึ้น เมื่อสหรัฐหยุดให้ความช่วยเหลือแก่รัฐบาลของ[[ลน นล]]ใน พ.ศ. 2516 เขมรแดงได้ครอบครองพื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศก่อนจะเข้ายึดพนมเปญในวันที่ 17 เมษายน พ.ศ. 2518 ล้มล้างรัฐบาล[[สาธารณรัฐเขมร]]ในที่สุด
== เมื่อเขมรแดงเมื่อครองอำนาจ ==
[[ไฟล์:กลุ่มผู้นำเขมรแดง.jpg|thumb|223px|ภาพสมาชิกระดับผู้นำของเขมรแดง - พล พต หรือซาลอธ ซาร์ หัวหน้าขบวนการ ยืนอยู่ตำแหน่งซ้ายมือสุด (ภาพนี้ถูกแสดงในพิพิธภัณฑ์ตวล สเลง)]]
ผู้นำของเขมรแดงไม่มีการเปลี่ยนแปลงใดๆ คณะกรรมการของพรรคระหว่างครองอำนาจได้แก่