ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อริยสัจ 4"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เพิ่มข้อความไม่เป็นวิกิขนาดใหญ่ การแก้ไขแบบเห็นภาพ
บรรทัด 34:
## ความดับทุกข์ได้ประจักษ์แจ้งแล้ว (ปัญญา)
## ทางแห่งความดับทุกข์ได้ปฏิบัติแล้ว (ปัญญาหลุดพ้น/ทางหลุดพ้น)
 
 
นี่คือทุกข์ (นาม-รูป)
 
ทุกข์ควรรู้ (นาม-รูป)
 
ทุกข์ได้กำหนดรู้แล้ว (นาม-รูป)
 
 
นี่คือเหตุแห่งทุกข์ (ตัวทุกข์)
 
เหตุแห่งทุกข์ควรละ (ตัวทุกข์)
 
เหตุแห่งทุกข์ได้ละแล้ว (ตัวทุกข์)
 
 
นี่คือความดับทุกข์ (ปัญญา)
 
ความดับทุกข์ควรทำให้ประจักษ์แจ้ง (ปัญญา)
 
ความดับทุกข์ได้ประจักษ์แจ้งแล้ว (ปัญญา)
 
 
นี่คือทางแห่งความดับทุกข์ (ปัญญาหลุดพ้น/ทางหลุดพ้น)
 
ทางแห่งความดับทุกข์ควรฝึกหัดให้เจริญขึ้น (ปัญญาหลุดพ้น/ทางหลุดพ้น)
 
ทางแห่งความดับทุกข์ได้ปฏิบัติแล้ว (ปัญญาหลุดพ้น/ทางหลุดพ้น)
 
 
 
หมายเหตุ :
 
 
สติ         คือ     ความไม่ประมาท
 
สมาธิ      คือ     ความแน่วแน่ ความดำรงมั่น ความตั้งมั่น ความมุ่งมั่น มีอารมณ์ไม่หวั่นไหว
 
ปัญญา    คือ     ความรู้ ความเข้าใจ
 
ปัญญาอันสูงสุด     คือ     การทำให้ รู้แจ้ง-เข้าใจแจ้ง ( การทำให้แจ้งด้วยปัญญา โดย การศึกษา การเรียน ค้นคว้า หาความรู้  อันยิ่งทำให้แจ้งด้วยปัญญา ที่เป็นอดีต อนาคต และปัจจุบัน ภายในหรือภายนอก หยาบหรือละเอียด เลวหรือประณีต ไกลหรือใกล้ พึงเห็นสิ่งนั้นด้วยปัญญาอันชอบ )
 
ปัญญาหลุดพ้น    คือ    การปล่อยวาง ไม่ถือมั่น จากสิ่งทั้งปวง โดยอาศัยพระธรรมที่รู้แล้ว แล้วแลอยู่
 
           ( อวิชชา เรากำจัดได้แล้ว วิชชาเกิดแก่เราแล้ว ความมืดเรากำจัดได้แล้ว แสงสว่างเกิดแก่เราแล้ว )
 
ปัญญาหยั่งรู้        คือ    การกำหนดสติ และสมาธิ
 
== อ้างอิง ==