ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พนักงานต้อนรับบนเครื่องบิน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
[[ไฟล์:Tiger Airways Flight Attendants.JPG|thumb|พนักงานต้อนรับบนเครื่องบินของ ''[[ไทเกอร์แอร์]]'' ขณะขายสินค้าปลอดภาษี]]
'''พนักงานต้อนรับบนเครื่องบิน''' ({{lang-en|Flight attendant}}, ไฟลท์แอทเทนแดนท์) ถ้าเป็นภาษาปาก ผู้ชายอาจเรียกว่า '''สจวต''' หรือ '''แอร์โฮสต์''' ส่วนผู้หญิงอาจเรียกว่า '''สจวตเดส''', '''แอร์โฮสเตส''' หรือ '''นางฟ้า'''<ref>{{cite book | author = [[ราชบัณฑิตยสถาน]] | title = พจนานุกรมคำใหม่ เล่ม 2 ฉบับราชบัณฑิตยสถาน | url = http://www.e4thai.com/e4e/images/pdf/new_words_royal_dict_2.pdf?fbclid=IwAR1DV82ZXE6Hd5A7d_6xfjns4gAcxQx9TfPcDRzeH8CdVXJEhqqskrs0CK0 | publisher = ยูเนียนอุลตร้าไวโอเร็ต | location = กรุงเทพฯ | year = 2552 | page = 145 }}</ref> คือ ผู้พิทักษ์ความปลอดภัย และอำนวยความสะดวกสบายแก่ผู้โดยสารบนอากาศยาน โดยมีหน้าที่ต่าง ๆ เช่น คอยดูแลช่วยเหลือผู้โดยสารในกรณีฉุกเฉิน รับผิดชอบตรวจเช็คอุปกรณ์ประจำเครื่องตามจุดต่าง ๆ เช่น ถังออกซิเจน เครื่องดับเพลิง ไฟฉาย หน้ากากออกซิเจน และเสื้อชูชีพ สำหรับสาธิตให้ผู้โดยสาร ฯลฯ ให้ครบถ้วนถูกต้องตามรายการ และอยู่ในสภาพใช้การได้
 
นอกจากนี้ยังมีหน้าที่ในการให้บริการแก่ผู้โดยสาร เช่น การเตรียมอาหาร การเสิร์ฟอาหารและเครื่องดื่ม การให้การรักษาพยาบาลแก่ผู้โดยสารที่เจ็บป่วย การจัดหาที่นั่งให้กับผู้โดยสาร ตรวจดูให้ผู้โดยสารรัดเข็มขัดก่อนเครื่องบินขึ้นหรือลง แจกสิ่งพิมพ์ให้ผู้โดยสารอ่าน และดูแลรักษาความสะอาดเรียบร้อย ในห้องผู้โดยสาร และห้องน้ำ เป็นอาทิ
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}