ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิกิพีเดีย:สอนการใช้งาน (แบบเก่า)/แก้ไข"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Minkeyblue080219 (คุย | ส่วนร่วม)
ทำหน้าว่าง
ป้ายระบุ: ทำหน้าว่าง
ย้อนกลับไปรุ่นที่ 8316431 โดย NP-chaonayด้วยสจห.
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 1:
{{วิกิพีเดีย:สอนการใช้งาน/แท็บส่วนหัว|หน้านี้=2}}
 
<div style="border:2px solid #A3B1BF; padding:.5em 1em 1em 1em; border-top:none; background-color:#fff; color:#000">
{{TOCright}}
 
การแก้ไขหน้าวิกิพีเดียส่วนใหญ่ไม่ยาก วิกิพีเดียใช้วิธีการแก้ไขสองวิธี การแก้ไขคลาสสิกผ่าน[[วิธีใช้:การจัดรูปแบบวิกิ|การจัดรูปแบบวิกิ]] (ข้อความวิกิ) และผ่าน[[วิกิพีเดีย:วิชวลเอดิเตอร์|วิชวลเอดิเตอร์]] (VisualEditor) มาใหม่
 
หากต้องการฝึกแก้ไข ให้ไป'''[[วิกิพีเดีย:ทดลองเขียน|หน้าทดลองเขียน]]''' แล้วคลิกแถบ ''แก้ไข'' จะมีการแสดงหน้าต่างแก้ไขที่มีข้อความสำหรับหน้านั้น ลองพิมพ์ดู หรือเปลี่ยนแปลงข้อความที่คุณจะได้พบในหน้านั้น แล้วคลิก {{button|เผยแพร่การเปลี่ยนแปลง}} และดูว่าผลลัพธ์ออกมาอย่างไร
 
== แถบแก้ไข ==
 
[[ไฟล์:Edit-this-page-large-th.png|300px|thumb|left|กดปุ่มนี้เพื่อเปลี่ยนเนื้อหาบทความ]]
 
เลือกการจัดรูปแบบวิกิโดยคลิกแถบ <em>แก้ไข</em> ที่อยู่บนสุดของหน้าวิกิพีเดีย (หรือลิงก์แก้ไขส่วน) จะพาคุณเข้าหน้าใหม่ที่มีเนื้อหาแก้ไขได้ของหน้าปัจจุบัน มีการใช้การจัดรูปแบบวิกิอย่างกว้างขวางในวิกิพีเดีย เช่น [[วิกิพีเดีย:ลิงก์|ไฮเปอร์ลิงก์]] ตารางและสดมภ์ เชิงอรรถ การอ้างอิงในบรรทัด อักขระพิเศษ เป็นต้น
 
ตัวเลือกวิชวลเอดิเตอร์เจตนาให้เป็นตัวช่วยแก้ไข "[[WYSIWYG|คุณได้อย่างที่คุณเห็น]]" (What You See Is What You Get) ที่เป็นมิตรต่อผู้ใช้ ซึ่งเปิดให้บุคคลไม่จำเป็นต้องรู้การจัดรูปแบบวิกิ
 
<div style="float: right; background-color:#f5faff; color: #000; padding: .2em .6em; font-size: 100%; border: 1px solid #cedff2; margin-bottom:3px;">'''สำหรับสารสนเทศเพิ่มเติม ดู [[วิธีใช้:การแก้ไข]]'''</div>{{-}}
{{clear}}
 
=== ความย่อการแก้ไข ===
ขั้นแรก เมื่อคุณแก้ไขหน้าใด ๆ การกรอกคำอธิบายการเปลี่ยนแปลงของคุณในกล่องความย่อการแก้ไขถือเป็น[[วิกิพีเดีย:มารยาท|มารยาท]]ที่ดี กล่องนี้อยู่ใต้หน้าต่างแก้ไข ทั้งนี้ คุณจะย่อคำอธิบายของคุณให้สั้นก็ได้ ตัวอย่างเช่น เมื่อคุณแก้ไขการสะกดอาจพิมพ์สั้น ๆ ว่า "แก้สะกด" ก็ได้ หรือ หากคุณเปลี่ยนแปลงหน้าแบบเล็กน้อย เช่น แก้ไขการสะกดหรือข้อผิดพลาดไวยากรณ์ ให้เลือกกล่อง "เป็นการแก้ไขเล็กน้อย" (จะมีต่อเมื่อคุณล็อกอิน)
 
<div style="float: right; background-color:#f5faff; color: #000; padding: .2em .6em; font-size: 100%; border: 1px solid #cedff2; margin-bottom:3px;">'''สำหรับสารสนเทศเพิ่มเติม ดู [[วิธีใช้:ความย่อการแก้ไข]]'''</div>{{-}}
{{clear}}
 
=== ดูตัวอย่าง ===
[[File:Mediawiki-button-preview.png|thumb|left|500px|ปุ่ม "แสดงตัวอย่าง" อยู่ขวามือถัดจากปุ่ม "เผยแพร่การเปลี่ยนแปลง" และอยู่ใต้เขตข้อมูลความย่อการแก้ไข]]
ขั้นที่สอง คุณควรใช้ปุ่ม '''{{Mediawiki:Showpreview}}''' เสมอ หลังคุณเปลี่ยนแปลงในกล่องแก้ไขแล้ว กดปุ่ม {{button|{{Mediawiki:Showpreview}}}} ซึ่งจะทำให้คุณเห็นว่าหน้าจะออกมาเป็นอย่างไรหลังการแก้ไขของคุณก่อนบันทึกจริง เราทุกคนล้วนเคยพลาด คุณลักษณะนี้ช่วยให้คุณตรวจพบข้อผิดพลาดนั้นก่อนผู้อื่นเห็น การใช้ '''{{Mediawiki:Showpreview}}''' ก่อนบันทึกยังให้คุณลองการเปลี่ยนการจัดรูปแบบและการแก้ไขอื่นโดยไม่เกะกะ[[วิธีใช้:ประวัติ|ประวัติหน้า]]
 
<div style="float: right; background-color:#f5faff; color: #000; padding: .2em .6em; font-size: 100%; border: 1px solid #cedff2; margin-bottom:3px;">'''สำหรับสารสนเทศเพิ่มเติม ดู [[วิธีใช้:แสดงตัวอย่าง]]'''</div>{{-}}
{{clear}}
 
=== บันทึกหน้า ===
เมื่อกรอกความย่อการแก้ไข แสดงตัวอย่างหน้าแล้ว คุณก็พร้อมสำหรับขั้นสุดท้าย: คลิกปุ่ม {{button|เผยแพร่การเปลี่ยนแปลง}}
 
== ไฟล์สื่อ ==
ภาพ เสียงและวิดีทัศน์ส่งเสริมบทความอย่างดีเยี่ยม สามารถแทรกไฟล์ที่มีอยู่แล้วในวิกิพีเดียหรือ[[วิกิมีเดียคอมมอนส์]]ได้ด้วยรหัสพื้นฐาน "<code><nowiki>[[ไฟล์:ชื่อไฟล์|thumb|คำอธิบาย]]</nowiki></code>" (สามารถใช้คำว่า "<code>ภาพ:</code>" แทน "<code>ไฟล์:</code> ได้โดยให้ผลไม่ต่างกัน ขึ้นอยู่กับความพึงใจของผู้เขียนทั้งสิ้น) การใช้ "<code>thumb</code>" จะสร้างรูปขนาดเล็ก (thumbnail) ของภาพ (เป็นตัวเลือกการจัดวางที่ใช้มากที่สุด)
 
ผู้ใช้ล็อกอินเท่านั้นที่สามารถอัปโหลดไฟล์ภายใต้ชื่อที่เหมาะสมได้ ขั้นแรกของการอัปโหลดไฟล์คือการระบุ[[วิกิพีเดีย:ลิขสิทธิ์|สถานภาพลิขสิทธิ์]]ของไฟล์ [[Commons:Special:UploadWizard|วิซาร์ดอัปโหลดไฟล์]]ของวิกิมีเดียคอมมอนส์ และ[[วิกิพีเดีย:อัปโหลด|แบบอัปโหลดไฟล์]]ของวิกิพีเดีย จะนำคุณผ่านกระบวนการส่งสื่อ ทุกไฟล์ที่อัปโหลดสะท้อนระหว่างวิกิพีเดียและวิกิมีเดียคอมมอนส์ และค้นหาได้จากทั้งสองเว็บไซต์
 
{{clear}}
<div style="float: right; background-color:#f5faff; color: #000; padding: .2em .6em; font-size: 100%; border: 1px solid #cedff2; margin-bottom:3px;">'''สำหรับสารสนเทศเพิ่มเติม ดู [[วิธีใช้:ภาพ]]'''</div>{{-}}
{{clear}}
 
== เปลี่ยนชื่อบทความ ==
[[ไฟล์:Vector hidden move button.png|thumb|left|ตัวเลือก "ย้าย" ปรากฏเมื่อคุณเลื่อนเคอร์เซอร์เมาส์เหนือรายการเลือกแบบดึงลง แสดงที่นี่]]
หากคุณพบบทความที่คุณเชื่อว่าใช้ชื่อผิด อย่าคัดลอกเนื้อหาจากบทความเก่าไปวางในบทความใหม่ เพราะจะทำให้[[วิธีใช้:ประวัติ|ประวัติการแก้ไข]]ขาดหาย (ซึ่งเราจำเป็นต้องติดตามด้วยเหตุผลด้านลิขสิทธิ์) วิธีที่นิยมคือ การ'''ย้าย'''หน้าไปชื่อใหม่ (ต้องเป็นผู้ใช้ลงทะเบียน) หลักการเลือกชื่อเรื่องบทความมีอธิบายไว้ใน [[วิกิพีเดีย:ชื่อบทความ]] หากหน้า "แก้ความกำกวม" เข้ามาเกี่ยวข้อง ควรทบทวน [[วิกิพีเดีย:การแก้ความกำกวม]] ด้วย
 
<div style="float: right; background-color:#f5faff; color: #000; padding: .2em .6em; font-size: 100%; border: 1px solid #cedff2; margin-bottom:3px;">'''สำหรับสารสนเทศเพิ่มเติม ดู [[วิธีใช้:การย้ายหน้า]]'''</div>{{-}}
{{clear}}
 
== สร้างบทความ ==
ก่อนสร้างบทความใหม่ กรุณาทำความเข้าใจ[[WP:NOTE|ข้อกำหนดความโดดเด่นของวิกิพีเดีย]] กล่าวสั้น ๆ คือ บทความจะต้องเป็นเรื่องที่มีการเผยแพร่ในแหล่งข้อมูลน่าเชื่อถืออยู่แล้ว เช่น หนังสือที่สำนักพิมพ์ใหญ่จัดพิมพ์ หนังสือพิมพ์ นิตยสาร วารสารวิชาการที่มีผู้รู้ทบทวน และเว็บไซต์ที่ผ่านข้อกำหนดเดียวกัน สารสนเทศในวิกิพีเดียจะต้อง[[WP:V|สามารถพิสูจน์ยืนยันได้]] หากไม่มีแหล่งข้อมูลภายนอกที่น่าเชื่อถือเกี่ยวกับหัวข้อหนึ่ง หัวข้อนั้นก็ไม่ควรมีบทความแยกของตัวเอง ทั้งนี้ เพื่อเลี่ยงการใส่หัวข้อสัพเพเหระ
 
มี[[วิกิพีเดีย:วิซาร์ดบทความ|วิซาร์ดบทความ]]เพื่อช่วยคุณสร้างบทความ ก่อนสร้างบทความ กรุณา[[วิกิพีเดีย:ค้นหา|ค้นหา]]วิกิพีเดียก่อนเพื่อให้แน่ใจว่าไม่มีบทความเรื่องนั้นอยู่แล้ว และกรุณาทบทวน[[วิกิพีเดีย:ชื่อบทความ|นโยบายการตั้งชื่อบทความ]]สำหรับคำแนะนำการเลือกชื่อบทความ
 
{{clear}}
<div style="float: right; background-color:#f5faff; color: #000; padding: .2em .6em; font-size: 100%; border: 1px solid #cedff2; margin-bottom:3px;">'''สำหรับรายละเอียดเพิ่มเติมเรื่องวิธีการสร้างบทความ ดู [[วิกิพีเดีย:บทความแรกของคุณ]]'''</div>{{-}}
{{clear}}
 
== หน้าที่ถูกล็อก ==
บางหน้าถูกล็อกมิให้แก้ไข หน้าเหล่านี้จะมีแถบ '''ดูโค้ด''' แทนแถบ '''แก้ไข''' ตามปกติ คุณยังสามารถแก้ไขหน้าเหล่านี้โดยอ้อมได้โดยส่ง "คำขอแก้ไข" แล้วจะมีผู้ใช้ที่สามารถแก้ไขหน้านั้นได้มาสนองตอบคำขอของคุณ
 
{{clear}}
<div style="float: right; background-color:#f5faff; color: #000; padding: .2em .6em; font-size: 100%; border: 1px solid #cedff2; margin-bottom:3px;">'''สำหรับสารสนเทศเพิ่มเติม ดู [[วิธีใช้:การล็อก]]'''</div>{{-}}
{{clear}}
 
== ถูกย้อน ==
หากการเปลี่ยนแปลงที่คุณสร้างถูกผู้ใช้อื่นย้อน ให้อภิปรายการเปลี่ยนแปลงในหน้าคุย! มีประโยชน์สำหรับการระบุข้อคัดค้าน รักษาการอภิปรายให้คืบหน้าและช่วยแก้ไขภาวะติดขัด ไม่สนับสนุน[[วิกิพีเดีย:สงครามแก้ไข|สงครามแก้ไข]] (คือ การย้อนการแก้ไขไปมา) อย่างยิ่ง หากละเมิดกฎนี้อาจทำให้ถูกบล็อกมิให้แก้ไขอีกเพื่อป้องกันการรบกวนเพิ่ม การแก้ไขรบกวนไม่ได้เจตนาเสมอไป เพราะผู้ใช้ใหม่อาจยังไม่ทราบที่ทางในวิกิพีเดีย
 
{{clear}}
<div style="float: right; background-color:#f5faff; color: #000; padding: .2em .6em; font-size: 100%; border: 1px solid #cedff2; margin-bottom:3px;">'''สำหรับสารสนเทศเพิ่มเติม ดู [[วิธีใช้:การย้อน]]'''</div>{{-}}
{{clear}}
 
== วิชวลเอดิเตอร์ ==
[[ไฟล์:VisualEditor-logo.svg|frameless|200px|right]]
 
[[วิกิพีเดีย:วิชวลเอดิเตอร์|วิชวลเอดิเตอร์]] (VisualEditor) ทำงานเสมือนเป็นโปรแกรมประมวลคำ และเป็นวิธีแก้ไขหน้าโดยไม่จำเป็นต้องเรียนมาร์กอัพวิกิก่อน
 
{{clear}}
<div style="float:right; margin-top: 0.0em; margin-bottom:3px; background-color: #cee0f2; padding: .2em .6em; font-size: 130%; border: 1px solid #a3b1bf;">'''ถัดไป: [[วิกิพีเดีย:สอนการใช้งาน/วิกิพีเดียลิงก์|วิกิพีเดียลิงก์]]''' <span style="font-size: larger; font-weight: bold;">→</span></div>
</div>
<div style="clear:both"></div>
</div>
 
[[หมวดหมู่:สอนการใช้งานวิกิพีเดีย|1]]
{{hidden title}}
 
[[vi:Wikipedia:Sách hướng dẫn/Viết bài]]