ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระราชพงศาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Cacaotica (คุย | ส่วนร่วม)
Cacaotica (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 78:
 
* '''ชุดอยุธยา''' คือ ชุดที่หลวงประเสริฐอักษรนิติ์มอบให้หอพระสมุดวชิรญาณเมื่อวันที่ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2450 ตามที่กรมพระยาดำรงราชานุภาพทรงระบุใน ''ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ 1''<ref name = ":0">[[#ปพ|''ประชุมพงศาวดาร ฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 1'', 2542]]: 209.</ref> แต่ทะเบียนของหอสมุดแห่งชาติระบุว่า เป็นวันที่ "19/3/2450" (19 มีนาคม พ.ศ. 2450)<ref name = ":1">[[#ปพ|''ประชุมพงศาวดาร ฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 1'', 2542]]: (18).</ref> ชุดนี้เป็นสมุดไทยดำหนึ่งเล่ม เขียนด้วยหมึกสีเหลืองทำจาก[[หรดาล]] ลายมือสมัยกรุงศรีอยุธยา มีรอยถูกฝนชื้น และหมึกลบเลือนไปหลายแห่ง<ref name = ":0"/> หอสมุดแห่งชาติขึ้นทะเบียนว่า "พงศาวดารกรุงศรีอยุธยา เรื่อง ลำดับศักราช สมัยกรุงศรีอยุธยา (พงศาวดาร ฉบับหลวงประเสริฐฯ) เลขที่ 30 มัดที่ 2 ตู้ 111 ชั้น 1/1 (ตัวหรดาล เขียนครั้งอยุธยา)"<ref name = ":2">[[#ปพ|''ประชุมพงศาวดาร ฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 1'', 2542]]: 211.</ref>
* '''ชุดธนบุรี''' ได้มาเมื่อปี พ.ศ. 2456 เป็นสมุดไทยดำสองเล่มต่อกัน เขียนขึ้นเมื่อปีมะเมีย พ.ศ. 2317 ในรัชกาลสมเด็จพระกรุงธนบุรี แต่เนื้อหาเท่ากับฉบับที่หลวงประเสริฐอักษรนิติ์ได้มานั้นเอง<ref name = ":0"/> สมุดชุดนี้อักษรยังสมบูรณ์ดี จึงมีประโยชน์ที่สามารถใช้สอบทานกับสมุดของหลวงประเสริฐอักษรนิติ์ซึ่งตัวอักษรเลือนไปหลายแห่งแล้ว<ref name = ":0"/> ในการพิมพ์ ''[[ประชุมพงศาวดาร ฉบับกาญจนาภิเษก|ประชุมพงศาวดาร ฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 1]]'' เมื่อ พ.ศ. 2542 กรมศิลปากรระบุว่า สมุดชุด พ.ศ. 2317 นี้หาไม่เจอแล้ว<ref name = ":2"/> อย่างไรก็ดี [[สำนักนายกรัฐมนตรี (ประเทศไทย)|สำนักนายกรัฐมนตรี]]เคยนำสมุดชุดนี้ออกพิมพ์ โดยคงการเขียนสะกดคำไว้ตามเดิม พิมพ์เป็นส่วนหนึ่งของ ''[[ประชุมจดหมายหตุจดหมายเหตุ สมัยอยุธยา|ประชุมจดหมายหตุจดหมายเหตุ สมัยอยุธยา ภาค 1]]'' เมื่อ พ.ศ. 2510<ref>[[#ปจ|''ประชุมจดหมายหตุจดหมายเหตุ สมัยอยุธยา ภาค 1'', 2510]]: 93–103.</ref>
* '''ชุดรัตนโกสินทร์''' หรือ '''ชุดรัชกาลที่ 1''' คือ ชุดที่คุณหญิงปทุมราชพินิจจัย (ปทุม บุรณศิริ) มอบให้แก่หอสมุดแห่งชาติเมื่อวันที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2511<ref name = ":1"/> เป็นสมุดไทยดำ เขียนด้วยดินสอขาว<ref name = ":1"/> อาลักษณ์ลงหมายเหตุไว้ว่า อาลักษณ์ชื่อ ชุม และเขียนจบ ณ วันจันทร์ ขึ้น 14 ค่ำ เดือน 1 ปีมะแม จ.ศ. 1149 ตรงกับวันจันทร์ที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2330<ref name = ":3"/> ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก<ref name = ":1"/> หอสมุดแห่งชาติขึ้นทะเบียนว่า "พงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ลำดับศักราชกรุงศรีอยุธยา จ.ศ. 686–966 เลขที่ 30/ก มัดที่ 2 ตู้ 111 ชั้น 1/1 (ตัวดินสอขาว คัดลอกครั้งรัชกาลที่ 1 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์)"<ref name = ":2"/>
 
บรรทัด 152:
* <div id="นช">นาฏวิภา ชลิตานนท์. (2524). ''ประวัติศาสตร์นิพนธ์ไทย''. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ และสำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. {{isbn|9745710512}}.</div>
* <div id="นอ">นิธิ เอียวศรีวงศ์. "พงศาวดารอยุธยาในสมัยต้นรัตนโกสินทร์". ใน ''รวมปาฐกถาจากสมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย พ.ศ. 2520–2521'', หน้า 169–254. (2521). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.</div>
* <div id="ปจ">''ประชุมจดหมายเหตุ สมัยอยุธยา ภาค 1''. (2510). กรุงเทพฯ: คณะกรรมการจัดพิมพ์เอกสารทางประวัติศาสตร์และโบราณคดี สำนักนายกรัฐมนตรี.</div>
* <div id="ปพ">''ประชุมพงศาวดาร ฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม 1''. (2542). กรุงเทพฯ: กองวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร. {{isbn|9744192151}}.</div>
* <div id="ปณ">ประเสริฐ ณ นคร. (2549). ''ประวัติศาสตร์เบ็ดเตล็ด''. กรุงเทพฯ: มติชน. {{isbn|9743236007}}.</div>