ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราไชย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Kritsnp (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Kritsnp (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 35:
| width = 150
| image1 = หม่อมเจ้าหญิงบุญจิราธร.jpg
| caption1 = [[หม่อมเจ้าหญิงบุญจิราธร จุฑาธุช]]
| image2 = หม่อมระวี จุฑาธุช ณ อยุธยา.jpg
| caption2 = หม่อมระวี จุฑาธุช ณ อยุธยา
}}
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราไชย เป็นต้นราชสกุล "จุฑาธุช" อภิเษกกับ[[หม่อมเจ้าบุญจิราธร ชุมพล|หม่อมเจ้าหญิงบุญจิราธร ชุมพล]] พระธิดาใน[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์]] เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2465 ก่อนหน้านี้ซึ่งก่อนจะอภิเษกพระองค์ทรงมีหม่อมอยู่ก่อนแล้วสองท่านคือ [[ลออ จุฑาธุช ณ อยุธยา|หม่อมลออ จุฑาธุช ณ อยุธยา]] (สกุลเดิม: ศิริสัมพันธ์) ธิดา[[พระนมอิน ศิริสัมพันธ์]] กับ[[ระวี จุฑาธุช ณ อยุธยา|หม่อมระวี จุฑาธุช ณ อยุธยา]] (สกุลเดิม: ไกยานนท์) นางละครจากคณะละคร[[วังสวนกุหลาบ]]<ref>{{cite web |url=http://phrachudadhuj.com/chudadhuj2.htm|title=สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าจุฑาธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณ์อินทราชัย|author=|date=|work= |publisher=พิพิธภัณฑ์จุฑาธุชราชฐาน เกาะสีชัง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย|accessdate=13 พฤษภาคม 2557}}</ref>
 
ส่วนพระโอรสและพระธิดามีอย่างละพระองค์ ประสูติแต่หม่อมทั้งสองท่านหาได้ประสูติแต่หม่อมเจ้าหญิงบุญจิราธร ผู้เป็นชายาเลย พระบุตรทั้งสองพระองค์จึงมีฐานันดรศักดิ์เป็น ''หม่อมเจ้า'' เมื่อแรกประสูติ แต่ต่อมาได้รับการเฉลิมพระยศเป็น ''พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า'' ในรัชกาลของ[[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]] เมื่อ พ.ศ. 2470 ทั้งนี้พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าหญิงสุทธสิริโสภา ประสูติแต่หม่อมลออ ส่วนพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรานนท์ธวัช ประสูติแต่หม่อมระวี<ref>{{อ้างหนังสือ
| ผู้แต่ง = กิติวัฒนา (ไชยันต์) ปกมนตรี, หม่อมราชวงศ์
| ชื่อหนังสือ = สายพระโลหิตในพระพุทธเจ้าหลวง
บรรทัด 52:
}}
</ref>
# '''[[พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าหญิงสุทธสิริโสภา|พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าหญิงหญิงสุทธสิริโสภา]]''' (16 ธันวาคม พ.ศ. 2464 — 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2541) เสกสมรสกับ[[หม่อมเจ้าสุวินิต กิติยากร]] มีธิดาสองคนคือ [[หม่อมราชวงศ์สุนิดา กิติยากร|หม่อมราชวงศ์หญิงสุนิดา]] และ[[หม่อมราชวงศ์เสาวนิต กิติยากร|หม่อมราชวงศ์หญิงเสาวนิต กิติยากร]]
# '''[[พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรานนท์ธวัช]]''' (19 สิงหาคม พ.ศ. 2465 — 15 กันยายน พ.ศ. 2533) เสกสมรสกับแพมาลา สมี, [[สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์]], [[เจ้ากอแก้วประกายกาวิล ณ เชียงใหม่]] และ[[ศรีไศล สุชาติวุฒิ]] มีบุตรและธิดาจากการสมรสครั้งแรกคือ [[หม่อมราชวงศ์ดิลกวรานนท์ จุฑาธุช|หม่อมราชวงศ์ดิลกวรานนท์]] และ[[หม่อมราชวงศ์ดารา จุฑาธุช|หม่อมราชวงศ์หญิงดารา จุฑาธุช]]
 
ด้วยความที่พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าวรานนท์ธวัช มีหม่อมมารดาเป็นนางละครมาก่อนจึงทำให้[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว|พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ข้ามพระองค์เจ้าวรานนท์ธวัชจากการสืบราชบัลลังก์ ด้วยทรงมองว่ามีมารดาเป็นสตรีที่ไร้สกุลรุนชาติ ดังปรากฏในพระบรมราชโองการตอนหนึ่ง ความว่า "…ให้ข้ามหม่อมเจ้าวรานนท์ธวัช ในสมเด็จเจ้าฟ้ากรมขุนเพชรบูรณ์อินทราไชยนั้นเสียเถิด เพราะหม่อมเจ้าวรานนท์ธวัชมีแม่ที่ไม่มีชาติสกุล เกรงว่าจะไม่เป็นที่เคารพแห่งพระบรมวงศานุวงศ์…"<ref>{{cite web |url=http://www.pridi-phoonsuk.org/pridi-and-the-death-of-king-ananda/|title=ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับท่านปรีดีฯ และกรณีสวรรคต|author=สุพจน์ ด่านตระกูล|date=|work= |publisher=ปรีดี-พูนศุข พนมยงค์|accessdate=13 พฤษภาคม 2557}}</ref> ด้วยเหตุนี้พระองค์เจ้าวรานนท์ธวัชผู้เป็นทายาทในสายเสาวภาจึงมิได้สืบราชสมบัติ เช่นเดียวกับ[[พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์]] ที่มีหม่อมมารดาเป็นนางต่างด้าว<ref>{{cite web |url=http://www.pridiinstitute.com/autopage/show_page.php?h=12&s_id=5&d_id=8|title=ปรีดี พนมยงค์ กับสถาบันกษัตริย์และกรณีสวรรคต|author=สุพจน์ ด่านตระกูล|date=|work= |publisher=สถาบันปรีดี พนมยงค์|accessdate=13 พฤษภาคม 2557}}</ref>