ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แตงโม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
ดีถ่ะไนำคพ่ัภคตะีัรนำพีะนตรต-ภรรนไ้ด/-{{ชื่ออื่น||สมเด็จพระสังฆราช|สมเด็จพระสังฆราชแตงโม (ทอง)}}ÄĊĊďďďďďกเั้ีำถหึัำัเกด ไำภะถ ไำพะ ไะำกพหะำกปเ้ั้หปด{{Taxobox
{{ชื่ออื่น||นักแสดง|นิดา พัชรวีระพงษ์}}
{{Taxobox
| name =
| image = Wassermelone.jpg
เส้น 15 ⟶ 17:
| synonyms =
* ''Citrullus vulgaris''
|}}
}}ขวดชอบไอช้างและเตยหอม[[ไฟล์:Single Watermelon Leaf 2000px.jpg|thumb|left|upright|ใบแตงโม]]น้องปลายชอบพี่แบค์คะ
{| class="wikitable"
'''แตงโม''' ({{ชื่อวิทยาศาสตร์|Citrullus lanatus}}) เป็น[[ผลไม้]]ที่มีน้ำประกอบอยู่เป็นจำนวนมาก และหวานมากแต่มีน้ำตาลน้อยกว่าผลไม้บางชนิดเนื่องจากน้ำตาลในผลคือน้ำตาลกลูโคส ​ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเรียก บักโม ภาคเหนือเรียก บะเต้า จังหวัดตรังเรียกแตงจีน ถิ่นกำเนิดอยู่ใน[[ทะเลทรายคาลาฮารี]]ทวีปแอฟริกา<ref>[http://cuke.hort.ncsu.edu/cucurbit/wmelon/wmhndbk/wmbiogeography.html North Carolina State University: Watermelon biogeography].</ref> ชาวอียิปต์เป็นชาติแรกที่ปลูกแตงโมไว้รับประทานเมื่อสี่พันปีมาแล้ว<ref>Daniel Zohary and Maria Hopf, ''Domestication of Plants in the Old World'', third edition (Oxford: University Press, 2000), p. 193.</ref> [[ชาวจีน]]เริ่มปลูกแตงโมที่[[ซินเกียง]]สมัย[[ราชวงศ์ถัง]] และชาวมัวร์ได้นำแตงโมไปสู่ทวีปยุโรป แตงโมแพร่หลายเข้าสู่[[ทวีปอเมริกา]]พร้อมกับชาวแอฟริกาที่ถูกขายเป็นทาส แตงโมต้องการดินที่มีความชุ่มชื้นพอเหมาะ น้ำไม่ขัง มักปลูกกันในดินร่วนปนทราย ในประเทศไทยมีการปลูกแตงโมทั่วทุกภูมิภาค และปลูกได้ทุกฤดู
|+
!
!
!
!
|-
|
|
|
|
|-
|
|
|
|
|-
|
|
|
|
|}
 
แตงโมเป็นพืชในวงศ์เดียวกับ[[แคนตาลูป]]และ[[ฟัก]] เป็นพืชล้มลุกเป็นเถา อายุสั้น เถาจะเลื้อยไปตามพื้นดิน มีขนอ่อนปกคลุม ผลมีทั้งทรงกลมและทรงกระบอก เปลือกแข็ง มีทั้งสีเขียวและสีเหลือง บางพันธุ์มีลวดลายบนเปลือก ในเนื้อมีเมล็ดสีดำแทรกอยู่ แตงโมที่นิยมปลูกโดยทั่วไปมี 3 พันธุ์คือปลาดุก
*
* พันธุ์ธรรมดา มีเมล็ดขนาดเล็ก รสหวาน แบ่งย่อยได้อีกหลายพันธุ์ เช่น แตงโมจินตหรา ผลยาวรี เปลือกเขียวเข้ม มีลาย เนื้อสีแดง แตงโมตอร์ปิโด ลูกรีกว่าพันธุ์จินตหรา แตงโมกินรี ผลกลม เนื้อแดง แตงโมน้ำผึ้ง ผลกลม เนื้อเหลือง แตงโมไดอานา เปลือกเหลือง เนื้อสีแดง แตงโมจิ๋ว ผลขนาดเท่ากำปั้น เนื้อเหลือง เป็นต้น
* พันธุ์ไม่มีเมล็ด เป็นพันธุ์ผสมเพื่อใช้ในการส่งออก ไม่มีเมล็ดแก่สีดำภายใน ในญี่ปุ่นมีการทำแตงโมให้เป็นทรงสี่เหลี่ยมโดยให้ผลเจริญในกล่อง เพื่อความสะดวกในการขนส่ง<ref>[http://news.bbc.co.uk/1/hi/world/asia-pacific/1390088.stm (BBC) Square fruit stuns Japanese shoppers] BBC News Friday, 15 June 2001, 10:54 GMT 11:54 UK</ref>
* พันธุ์กินเมล็ด ปลูกเพื่อนำเมล็ดมาคั่ว พันธุ์นี้มีเนื้อมาก
 
[[ไฟล์:Watermelon seedless.jpg|thumb|left|แตงโมไม่มีเมล็ด]]
แตงโมเป็นผลไม้ที่มีคุณสมบัติเย็น จะช่วยลดอาการปวด ไข้ คอแห้ง บรรเทาแผลในปาก เปลือกแตงโมนำไปต้มเดือด แล้วเติมน้ำตาลทราย ดื่มเพื่อป้องกันเจ็บคอ กินเป็นผลไม้สด ทำเป็นน้ำผลไม้ เปลือกหรือผลอ่อนใช้ทำอาหาร เช่น [[แกงส้ม]] ในเวียดนาม นิยมรับประทานเมล็ดแตงโมในเทศกาลปีใหม่ <ref>[http://books.google.com/books?id=uEH7gZ-9qh0C&pg=PA104&dq=watermelon+new+year+vietnamese&lr= The Asian Texans] By Marilyn Dell Brady, Texas A&M University Press</ref>
 
พบกรดอะมิโน [[citrulline]] เป็นครั้งแรกในแตงโม<ref>{{cite journal
| author = Wada, M.
| title = Über Citrullin, eine neue Aminosäure im Presssaft der Wassermelone, Citrullus vulgaris Schrad.
| journal = Biochem. Zeit.
| volume = 224
| issue =
| page = 420
| year = 1930
| doi = }}</ref> โดยแตงโมมี citrulline มาก ถ้ารับประทานในปริมาณหลายกิโลกรัมจะตรวจพบใน[[เลือด]]ของผู้รัประทานได้ ซึ่งจะเข้าไปรบกวน[[วัฏจักรยูเรีย]]<ref>{{cite journal
| author = H. Mandel, N. Levy, S. Izkovitch, S. H. Korman
| title = Elevated plasma citrulline and arginine due to consumption of Citrullus vulgaris (watermelon)
| journal = Berichte der deutschen chemischen Gesellschaft
| volume = 28
| issue = 4
| pages = 467–472
| year = 2005
| doi = 10.1007/s10545-005-0467-1
| pmid = 15902549 }}</ref> ในเนื้อผลมีเบตาแคโรทีน<ref>{{cite web|url=http://home.howstuffworks.com/watermelon3.htm |title=HowStuffWorks "Health Benefits of Watermelon" |publisher=HowStuffWorks |date= |accessdate=2009-12-05}}</ref> เปลือกที่มีสีเขียวอ่อนหรือขาวของแตงโมรับประทานเป็นผักได้<ref>{{cite web | url = http://www.5hpk.com/Html/TOPIC/200807172.html| title = The column of watermelon peel from 5hpk.com | accessdate = 2008-07-15}}</ref> นำไปทำไวน์ได้<ref>[http://winemaking.jackkeller.net/watermel.aspInsert footnote text here]</ref>
 
ใช้ทำเป็นทรีทเม้นท์บำรุงผิว ช่วยเพิ่มความชุ่มชื่นให้แก่ผิว แก้ปัญหาผิวแห้งกร้าน ช่วยดูดซับความมันบนใบหน้า และลดอาการแสบแดง วิธีการง่าย ๆ เพียงแค่นำเนื้อแตงโมมาฝานบาง ๆ แล้วนำมาวางไว้บนผ้าขาวบาง จากนั้นนำมาวางปิดลงบนใบหน้าให้ทั่วทิ้งไว้ประมาณ 15 นาทีแล้วล้างออกด้วยน้ำสะอาด
 
{{nutritionalvalue
| name = แตงโม ดิบ (ส่วนที่กินได้)
| kJ = 127
| protein = 0.61 g
| fat = 0.15 g
| carbs = 7.55 g
| fiber = 0.4 g
| water = 91.45 g
| sugars = 6.2 g
| iron_mg = 0.24
| calcium_mg = 7
| magnesium_mg = 10
| phosphorus_mg = 11
| potassium_mg = 112
| zinc_mg = 0.10
| vitA_ug = 28
| vitC_mg = 8.1
| pantothenic_mg = 0.221
| vitB6_mg = 0.045
| folate_ug = 3
| thiamin_mg = 0.033
| riboflavin_mg = 0.021
| niacin_mg = 0.178
| right = 1
| source_usda = 1 }}
 
== อ้างอิง ==
* นิดดา หงส์วิวัฒน์ และทวีทอง หงส์วิวัฒน์. แตงโม ใน ผลไม้ 111 ชนิด: คุณค่าอาหารและการกิน. กทม. แสงแดด. 2550 หน้า 77 - 80
{{รายการอ้างอิง}}
 
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/แตงโม"