ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ชา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 5:
 
{{cn-span|ชาแบ่งหยาบ ๆ ได้ 6 ประเภท ได้แก่ [[ชาขาว]], [[ชาเหลือง]], [[ชาเขียว]], [[ชาอูหลง]], [[ชาดำ]] และ[[ชาผู่เอ๋อร์]]}} ชาทุกชนิดสามารถทำได้จากต้นชาต้นเดียวกัน แต่ผ่านกรรมวิธีแตกต่างกันออกไป
 
==นิรุกติศาสตร์==
คำว่า "ชา" ในภาษาอังกฤษเป็นคำที่หยิบยืมมาจาก[[ภาษาแต้จิ๋ว]] คือ "แต๊" หรือ "ฉา" ใน[[ภาษาจีนกลาง]] (茶)<ref>{{cite web|url=https://www.thairath.co.th/newspaper/columns/1635236|work=ไทยรัฐ|author=กิเลน ประลองเชิง|date=2019-08-12|title=ธรรมเนียมน้ำชา}}</ref> ในขณะที่ "ชา" ในภาษาไทย น่าจะมาจาก[[ภาษาโปรตุเกส]]คำว่า "chá" ตั้งแต่[[สมัยอยุธยา]] เช่นเดียวกับคำว่า [[กาแฟ]] อันเป็นเครื่องดื่มคู่กัน เนื่องจากออกเสียงใกล้เคียงกันมาก <ref>{{cite web|url=https://www.youtube.com/watch?v=_ylY_6yH7j4|title=ชีวิตไม่สิ้นหวัง เล่าเรื่องชุมชนกุฎีจีน ตอนสอง 11 สค 2562|date=2019-08-11|first=Manoonthum|last=Thachai|work=ช่อง 3}}</ref>
 
== การจัดประเภทและการแปรรูป ==
เส้น 31 ⟶ 28:
ในใบชาจะประกอบด้วย กรด แกลโลแทนนิด (Gallotannic acid) 15% ซึ่งจะให้สารแทนนินออกมา โดยทั่วไปนิยมชงใบชา
กับน้ำดื่มเพื่อกระตุ้นให้ไม่ง่วงนอน และนอกจากนี้ยังรักษาโรคท้องร่วงได้ คนไทยในภาคเหนือนิยมเคี้ยวและอม แทนการกินหมาก
 
===นิรุกติศาสตร์===
คำว่า "ชา" (tea) ในภาษาอังกฤษเป็นคำที่หยิบยืมมาจาก[[ภาษาแต้จิ๋ว]] คือ "แต๊" หรือ "ฉา" ใน[[ภาษาจีนกลาง]] (茶)<ref>{{cite web|url=https://www.thairath.co.th/newspaper/columns/1635236|work=ไทยรัฐ|author=กิเลน ประลองเชิง|date=2019-08-12|title=ธรรมเนียมน้ำชา}}</ref> ในขณะที่ "ชา" ในภาษาไทย น่าจะมาจาก[[ภาษาโปรตุเกส]]คำว่า "chá" ตั้งแต่[[สมัยอยุธยา]] เช่นเดียวกับคำว่า [[กาแฟ]] อันเป็นเครื่องดื่มคู่กัน เนื่องจากออกเสียงใกล้เคียงกันมาก <ref>{{cite web|url=https://www.youtube.com/watch?v=_ylY_6yH7j4|title=ชีวิตไม่สิ้นหวัง เล่าเรื่องชุมชนกุฎีจีน ตอนสอง 11 สค 2562|date=2019-08-11|first=Manoonthum|last=Thachai|work=ช่อง 3}}</ref>
 
=== ตามตำนาน ===
[[นิทาน|ตำนาน]]ของ[[จีน]]เกี่ยวกับชาที่นิยมเล่าขานกันเรื่องหนึ่ง มีอยู่ว่า เมื่อประมาณ 2,737 ปีก่อน[[คริสต์ศักราช]] ขณะที่[[เสินหนง]] [[ฮ่องเต้]]ในตำนานของ[[จีน]] ผู้คิดค้น[[เกษตรกรรม]] และ[[ยาจีน]] กำลังเสวยน้ำร้อนถ้วยหนึ่งอยู่นั้น ใบไม้จากต้นไม้แถวนั้นก็ได้ร่วงลงในถ้วยใบฮ่องเต้ สีของน้ำในถ้วยก็เปลี่ยนไป ฮ่องเต้ก็ได้เสวยน้ำนั้นอีก และทรงประหลาดใจเป็นอย่างยิ่งว่าน้ำนั้นกลับมีรสชาติดี และทรงรู้สึกสดชื่นอีกด้วย อีกตำนาน เล่าว่า ขณะที่[[เสินหนง]][[ฮ่องเต้]]ทรงกำลังทดลองสรรพคุณของ[[สมุนไพร]]ต่าง ๆ ด้วยพระองค์เองอยู่นั้น พระองค์ทรงค้นพบว่าสมุนไพรบางชนิดเป็นพิษ แต่ชาก็เป็นยาถอนพิษนั้นได้ ในงานประพันธ์ของ [[ลู่อวี่]] (陆羽, Lù Yǔ) เรื่อง [[ฉาจิง]] (茶经, 茶經, chájīng) ก็ได้มีการกล่าวถึง[[เสินหนง]][[ฮ่องเต้]]เช่นกัน ตำนานที่มีลักษณะคล้ายคลึงกันอีกตำนานหนึ่ง เล่าว่า เทพแห่งเกษตรกรรม ได้เคี้ยวพืชต่าง ๆ เพื่อทดสอบหาสรรพคุณของสมุนไพร ท่านเทพก็ได้ใช้ใบชาเป็ยาถอนพิษด้วยเช่นกัน
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ชา"