ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาเขมร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Hakim dorloh (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 17:
| notice = Indic}}
 
'''ภาษาเขมร''' ({{lang-km|ភាសាខ្មែរ}} ''ภาสาแขฺมร'' {{IPA|[pʰiə.ˈsaː kʰmae]}} ''เพียซา คฺมาย'') ซึ่งเป็นภาษาประจำชาติของ[[ราชอาณาจักรกัมพูชา]] เป็นหนึ่งในภาษาหลักของ[[ภาษากลุ่มออสโตรเอเซียติก]] และได้รับอิทธิพลหลายๆ ประการมาจาก[[ภาษาสันสกฤต]] และ[[ภาษาบาลี]] พอสมควร ซึ่งอิทธิพลเหล่านี้เข้ามาผ่าน[[ศาสนาพุทธ]] และ[[ศาสนาฮินดู]] ในขณะที่อิทธิพลจากภาษาอื่นๆ โดยมากเป็นคำยืม เช่น จาก[[ภาษาไทย]] [[ภาษาลาว]] และ[[ภาษาเวียดนาม]] เป็นผลมาจากการติดต่อกันทางด้านภาษา และความใกล้ชิดกันในทางภูมิศาสตร์ และ[[ภาษาจีน]]จากการอพยพ ภาษาฝรั่งเศสจากการตกเป็นอาณานิคมช่วงเวลาหนึ่ง และ[[ภาษามลายู]]จากความสัมพันธ์ในอดีตและการที่เคยมี[[อาณาจักรจามปา]]ในตอนกลางของ[[ประเทศเวียดนาม]]
 
ภาษาเขมรแปลกไปจากภาษาในประเทศเพื่อนบ้าน ([[ภาษาไทย]] [[ภาษาลาว]] และ[[ภาษาเวียดนาม]]) เนื่องจากไม่มีเสียง[[วรรณยุกต์]]
 
== สัทวิทยา ==
บรรทัด 129:
 
== ภาษาเขมรในประเทศไทย ==
ภาษาเขมรในประเทศไทยพบผู้พูดกระจายอยู่ในภาคตะวันออกของประเทศไทย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือซึ่งพบจำนวนผู้พูดกระจุกตัวอยู่มากที่สุด ในภาคกลางของประเทศไทยมีประวัติว่ามีผู้พูดภาษาเขมรใน[[ราชบุรี]] [[สุพรรณบุรี]] แต่มีผู้พูดน้อยแล้ว ใน[[กรุงเทพมหานคร]]ยังมีชุมชนแขกบ้านครัวที่เป็นชาวเขมรและชาวจามอพยพมาจากพระตะบอง คนสูงวัยบางคนยังจำภาษาเขมรได้บ้างไม่กี่คำ
 
== อ้างอิง ==