ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาพระเวท"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 11:
'''ภาษาพระเวท''' ({{lang-en|Vedic Sanskrit}}) เป็นคำที่ใช้เรียกภาษาของชาวอารยันในยุคเริ่มแรก (ก่อนพ.ศ. 43) ซึ่งเป็นภาษาที่ชาวอารยันใช้เขียน[[คัมภีร์พระเวท]]และเป็นต้นตระกูลของภาษาอื่น ๆ ใน[[อินเดีย]] กล่าวคือเมื่อชาวอารยันติดต่อกับสมาคมกับชาวพื้นเมืองเดิมในอินเดียทำให้เกิดการปะปนกันของภาษาจนวิวัฒนาการเป็น[[ภาษาปรากฤต]] เช่น [[ภาษามคธี]] [[ภาษาอรรธมคธี]] [[ภาษาเศารเสนี]] [[ภาษามหาราษฏระ]]
 
ในยุคนี้เอง นักปราชญ์ชาวอารยันที่ยังใช้ภาษาพระเวทอยู่นั้นเห็นว่า หากปล่อยไว้ภาษาของตนจะปะปนกับภาษาอื่นจนเสียความบริสุทธิ์ของภาษาไป จึงมีการจัดระเบียบภาษาพระเวทขึ้นใหม่โดยวางกฎเกณฑ์ให้เป็นระบบ ตำราไวยากรณ์ที่มีชื่อเสียงคือ[[อัษฏาธยายี]]ของ[[ปาณินิ]] ภาษาที่จัดระเบียบแล้วนี้เรียก[[ภาษาสันสกฤต]] ส่วนภาษาปรากฤตทั้งหลายนั้นได้วิวัฒนาการมาเป็นภาษาที่ใช้ในอินเดียปัจจุบัน เช่น [[ภาษาฮินดี]] [[ภาษามราฐี]] [[ภาษาคุชราต]] [[ภาษาเบงกาลีเบงกอล]] [[ภาษาปัญจาบ]] [[ภาษาอูรดู]] [[ภาษาพาชตู]] [[ภาษาสิงหล]] เป็นต้น
 
== อ้างอิง ==