ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษากอกบอรอก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Octahedron80 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 10:
| fam4 = [[ภาษากลุ่มโบโด]]-[[ภาษากลุ่มกาโร]]
| fam5 = โบโด
| script = [[อักษรกอลอมา]] (''เลิกใช้'') [[อักษรเบงกาลีเบงกอล]] [[อักษรละติน]]
| nation = [[รัฐตรีปุระ]] [[ประเทศอินเดีย]]
|lc1=trp|ld1=Kokborok (Tripuri/Tipra)
บรรทัด 28:
ภาษากอกบอรอกเริ่มปรากฏในหลากหลายรูปแบบตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 6 เมื่อเริ่มมีพงศาวดารของกษัตริย์ตรีปุระ ซึ่งมีชื่อเรียกว่าราชรัตนกิจ เขียนด้วยภาษากอกบอรอก อักษรที่ใช้เขียนภาษากอกบอรอกเรียกว่า[[อักษรกอลอมา]] ผู้เขียนคือ คุรลอเบนดรา ชอนไต
 
ในเวลาต่อมา มีพราหมณ์ 2 คน คือ สุเกรสวัร และวเนศวัร ได้แปลพงศาวดารนี้เป็น[[ภาษาสันสกฤต]]และแปลต่อเป็น[[ภาษาเบงกาลีเบงกอล]]เมื่อพุทธศตวรรษที่ 19 ส่วนฉบับเดิมที่เขียนด้วยภาษากอกบอรอกสูญหายไป ภาษากอกบอรอกถูกลดฐานะเป็นเพียงภาษาทั่วไปของสามัญชนตลอดสมัย[[ราชอาณาจักรตรีปุระ]] ในขณะที่ภาษาเบงกาลีเบงกอลเป็นภาษาราชการตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 19-25 ภาษากอกบอรอกเป็นภาษาราชการของรัฐตรีปุระเมื่อ พ.ศ. 2522 ปัจจุบันถือเป็นภาษาประจำชาติภาษาหนึ่งของอินเดีย
== ไวยากรณ์ ==
''บทความหลัก:[[ไวยากรณ์ภาษากอกบอรอก]]''
บรรทัด 107:
== การเขียน ==
 
ภาษากอกบอรอกมีอักษรเป็นของตนเองเรียกกอลอมาซึ่งสาบสูญไปแล้ว ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 14 ราชอาณาจักรตรีปุระใช้อักษรเบงกาลีเบงกอลเขียนภาษากอกบอรอก ตั้งแต่อินเดียได้รับเอกราชและตรีปุระเป็นส่วนหนึ่งของอินเดีย มีการใช้อักษรโรมันโดยเฉพาะในองค์กรอกชน ปัญหาการใช้ตัวอักษรเป็นปัญหาการเมืองในตรีปุระ โดยฝ่ายซ้ายเสนอให้ใช้อักษรเบงกาลีเบงกอล ในขณะที่ชาวคริสต์สนับสนุนให้ใช้อักษรโรมัน ปัจจุบันคงมีการใช้อักษรสองชนิดควบคู่กัน
 
=== ตัวเลข ===