ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาแบกเตรีย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 5:
|iso3=xbc
|familycolor=Indo-European
|fam2=[[ภาษากลุ่มอินโด-อิหร่านอิเรเนียน]]
|fam3=[[ภาษากลุ่มอิหร่าน]]
|fam4=[[ภาษากลุ่มอิหร่านตะวันออก]]
บรรทัด 11:
|script=[[อักษรอราเมอิก]], [[อักษรกรีก]]
|extinct=ประมาณพุทธศตวรรษที่ 14}}
'''ภาษาแบกเตรีย''' (Bactrian language)''' เป็นภาษากลุ่มอิหร่านกลางที่ตายแล้ว เคยใช้พูดในบริเวณ[[แบกเตรีย]]ใน[[เอเชียกลาง]] ซึ่งเคยเรียกว่า[[โตชาริสถาน]]ใน[[อัฟกานิสถาน]] คาดว่าภาษานี้เป็นภาษาพูดของชาวแบกเตรียในยุคที่[[พระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราช]]ยกทัพไปถึงเมื่อราว พ.ศ. 220 ตามด้วยช่วงเวลาของการรับวัฒนธรรมกรีกอีก 200 ปี โดย[[จักรวรรดิเซเลอูซิด]]ตามด้วย[[ราชอาณาจักรกรีก-แบกเตรีย]] อิทธิพลจากกรีกสิ้นสุดลงเมื่อ พ.ศ. 420 เมื่อมีการรุกรานจากชาวยูเอซิจากภาคเหนือซึ่งเป็นผู้ปรับปรุง[[อักษรกรีก]]มาเขียนภาษาแบกเตรีย โดยก่อนหน้านี้ ภาษานี้เขียนด้วย[[อักษรอราเมอิก]]
 
ภาษาแบกเตรียคล้ายกับว่าจะเป็นภาษาราชการคู่กับ[[ภาษากรีก]]ในยุคของชาวคูซานที่เป็นลูกหลานของชาวยูเอซิใช้ในจารึกและบนเหรียญ การขยายดินแดนของชาวคูซานทำให้ภาษาแบกเตรียแพร่เข้าสู่[[อินเดีย]]ภาคเหนือและบริเวณอื่น ๆ ของเอเชียกลางไปไกลถึง[[ทูรฟาน]] เมื่อพบจารึกเกี่ยวกับ[[พุทธศาสนา]]เขียนด้วยภาษาแบกเตรียในบริเวณนั้น สัทวิทยาโดยทั่วไปของภาษาแบกเตรียคล้ายกับ[[ภาษาพาซตูปาทาน]] [[ภาษาเปอร์เซีย]] และภาษาอิหร่านยุคกลางอื่น ๆ เช่น [[ภาษาพาร์เทียน]]และ[[ภาษาซอกเดีย]] คาดว่าภาษานี้มีการใช้จนถึงพุทธศตวรรษที่ 14
 
{{อินโด-อิหร่านอิเรเนียน}}
'''ภาษาแบกเตรีย (Bactrian language)''' เป็นภาษากลุ่มอิหร่านกลางที่ตายแล้ว เคยใช้พูดในบริเวณ[[แบกเตรีย]]ใน[[เอเชียกลาง]] ซึ่งเคยเรียกว่า[[โตชาริสถาน]]ใน[[อัฟกานิสถาน]] คาดว่าภาษานี้เป็นภาษาพูดของชาวแบกเตรียในยุคที่[[พระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราช]]ยกทัพไปถึงเมื่อราว พ.ศ. 220 ตามด้วยช่วงเวลาของการรับวัฒนธรรมกรีกอีก 200 ปี โดย[[จักรวรรดิเซเลอูซิด]]ตามด้วย[[ราชอาณาจักรกรีก-แบกเตรีย]] อิทธิพลจากกรีกสิ้นสุดลงเมื่อ พ.ศ. 420 เมื่อมีการรุกรานจากชาวยูเอซิจากภาคเหนือซึ่งเป็นผู้ปรับปรุง[[อักษรกรีก]]มาเขียนภาษาแบกเตรีย โดยก่อนหน้านี้ ภาษานี้เขียนด้วย[[อักษรอราเมอิก]]
 
ภาษาแบกเตรียคล้ายกับว่าจะเป็นภาษาราชการคู่กับ[[ภาษากรีก]]ในยุคของชาวคูซานที่เป็นลูกหลานของชาวยูเอซิใช้ในจารึกและบนเหรียญ การขยายดินแดนของชาวคูซานทำให้ภาษาแบกเตรียแพร่เข้าสู่[[อินเดีย]]ภาคเหนือและบริเวณอื่น ๆ ของเอเชียกลางไปไกลถึง[[ทูรฟาน]] เมื่อพบจารึกเกี่ยวกับ[[พุทธศาสนา]]เขียนด้วยภาษาแบกเตรียในบริเวณนั้น สัทวิทยาโดยทั่วไปของภาษาแบกเตรียคล้ายกับ[[ภาษาพาซตู]] [[ภาษาเปอร์เซีย]] และภาษาอิหร่านยุคกลางอื่น ๆ เช่น [[ภาษาพาร์เทียน]]และ[[ภาษาซอกเดีย]] คาดว่าภาษานี้มีการใช้จนถึงพุทธศตวรรษที่ 14
 
{{อินโด-อิหร่าน}}
 
[[หมวดหมู่:ภาษาโบราณในทวีปเอเชีย|บแกเตรีย]]