ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กลุ่มภาษาอิหร่าน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 8395896 สร้างโดย 2001:44C8:4447:5B06:1:2:72E7:DC86 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Iranian-languages-map.jpg|thumb|325px|การแพร่กระจายทางภูมิศาสตร์ของผุ้พูดกลุ่มภาษาอิหร่าน]]
 
'''กลุ่มภาษาอิหร่าน''' เป็นสาขาย่อยของ[[กลุ่มภาษาอินโด-อิหร่านอิเรเนียน]]ที่อยู่ใน[[ตระกูลภาษาอินโด-ยุโรเปียน]] [[ภาษาอเวสตะ]]ถือเป็นภาษาที่เก่าที่สุดของกลุ่มนี้ที่มีการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร กลุ่มภาษานี้มีผู้พูดเป็นภาษาแม่ราว 150 - 150–200 ล้านคน ภาษาที่มีผู้พูดมากที่สุดคือ[[ภาษาเปอร์เซีย]] (ประมาณ 70 ล้านคน) [[ภาษาพาซตู]] (ประมาณ 40 ล้านคน) [[ภาษาเคิร์ด]] (35 ล้านคน) และ[[ภาษาบาโลชิ]] (ประมาณ 7 ล้านคน)
 
== ชื่อ ==
บรรทัด 863:
== ประวัติ ==
=== ภาษายุคเริ่มแรก ===
กลุ่มภาษาอินโด-อิหร่านอิเรเนียนมีจุดเริ่มต้นในเอเชียกลาง แต่ทฤษฎียังมีช่องว่างอีกมาก กลุ่มภาษาอิหร่านนี้เป็นลูกหลานของภาษาอินโด-อิหร่านอิเรเนียนดั้งเดิม ซึ่งภาษานี้แตกออกเป็น
* [[กลุ่มภาษาอินโด-อารยัน]] รววมทั้ง[[ภาษาสันสกฤต]] [[กลุ่มภาษาดาร์ดิก]]ใน[[อินเดีย]]ตะวันตกเฉียงเหนือและ[[กลุ่มภาษานูริสถาน]]ใน[[อัฟกานิสถาน]]ตะวันออกเฉียงเหนือ
* กลุ่มภาษาอิหร่าน รวมทั้ง[[ภาษาอเวสตะ]]และ[[ภาษาเปอร์เซียโบราณ]]
ภาษาอิหร่านดั้งเดิมมีอายุย้อนหลังไปถึงหลังจากการแยกตัวของภาษาอินโด-อิหร่านอิเรเนียนดั้งเดิมหรือราว 1,457 ปีก่อนพุทธศักราช ซึ่งเป็นช่วงที่ภาษาอิหร่านแยกตัวออกมาและพัฒนาตามชนเผ่าอิหร่านกลุ่มต่างๆที่อพยพไปมาระหว่างยุโรป เอเชียใต้ ที่ราบอิหร่านและเอเชียกลาง ในทางภาษาศาสตร์ ภาษาอิหร่านโบราณแบ่งได้เป็น 2 กลุ่มคือ
* กลุ่มตะวันออก ได้แก่ภาษาซอกเดีย ภาษาคาวาเรสเมีย ภาษาซากา และภาษาอเวสตะ
* กลุ่มตะวันตก แบ่งเป็น