18
การแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขขั้นสูงด้วยมือถือ |
|||
== ระบบอาณัติสัญญาณรถไฟในประเทศไทย ==
ระบบอาณัติสัญญาณรถไฟในประเทศไทย ของ[[การรถไฟแห่งประเทศไทย]] ออกแบบโดยคำนึงถึงความปลอดภัย สภาพภูมิประเทศ (ความลาดชัน, ทางโค้ง, สภาพราง) ความหนาแน่นของชุมชน และงบประมาณ
=== สัญญาณประจำที่ (Wayside Signals) ===
[[ไฟล์:Rail_TalingchanJn_CLRSS.jpg|200px|thumbnail|อาณัติสัญญาณประจำที่ชนิดไฟสีสามท่า ที่[[สถานีรถไฟชุมทางตลิ่งชัน]]]]▼
[[ไฟล์:Rail_KaengKoiJn.jpg|200px|thumbnail|อาณัติสัญญาณประจำที่ชนิดไฟสีสองท่า ที่[[สถานีรถไฟชุมทางแก่งคอย]]]]ระบบอาณัติสัญญาณรถไฟในประเทศไทย มีการลักษณะใช้สัญญาณประจำที่โดยพนักงานขับรถจะต้องปฏิบัติตามท่าแสดงสัญญาณอย่างเคร่งครัด โดยสัญญาณประจำที่นั้นได้มีการกำหนดให้ตั้งอยู่ทางด้านขวาของขบวนรถในทางเดี่ยว และด้านซ้ายของขบวนรถในทางคู่ แบ่งออกเป็น 3 ชนิดดังนี้
# สัญญาณไฟสี (Color Light Signals) แบ่งเป็นประเภทไฟสีสองท่า (Two Aspect) หรือไฟสีสามท่า (Three Aspect)
สัญญาณประจำที่ของการรถไฟที่ใช้มีดังนี้
'''หลักเขตสถานี (Limit of Station)''' ตั้งอยู่ก่อนถึงสถานีและอยู่ภายนอกประแจอันนอกสุดของสถานี ทำหน้าที่ห้ามหรืออนุญาตให้ขบวนรถเดินเข้าสู่สถานี
ประแจกลไฟฟ้า ชนิดบังคับสัมพันธ์ด้วยรีเลย์ และสัญญาณไฟสี ▼
ประแจกลไฟฟ้า ชนิดบังคับด้วยคอมพิวเตอร์ และสัญญาณไฟสี▼
'''สัญญาณเตือน (Warner SIgnal หรือ Distant Signal)''' ตั้งอยู่ก่อนถึงสัญญาณเข้าเขตนอก หรืออยู่ร่วมกับสัญญาณเข้าเจตนอก หรือก่อนถึงสัญญาณเข้าเขตใน(หากไม่มีสัญญาณเข้าเขตนอก) หรือก่อนถึงสัญญาณอัตโนมัติ ประมาณ 1000 ถึง 1,500 เมตร ทำหน้าที่แสดงให้ทราบถึงสัญญาณประจำที่ตัวถัดไปว่าอยู่ในท่าใด
ประแจกลหมู่ ชนิดบังคับด้วยเครื่องกลสายลวด และสัญญาณไฟสี▼
'''สัญญาณเข้าเขตนอก (Outer Home Signal)''' ตั้งอยู่ก่อนถึงสัญญาณเข้าเขตใน ทำหน้าที่ห้ามหรืออนุญาตให้ขบวนรถเดินถึงสัญญาณเข้าเขตใน
'''สัญญาณเข้าเขตใน (Inner Home Signal)''' ตั้งอยู่ก่อนถึงสถานีและประแจตัวนอกสุดของสถานี ทำหน้าที่ห้ามหรืออนุญาตให้ขบวนรถเดินเข้าสู่สถานี
▲===สัญญาณหางปลา===
'''สัญญาณออก (Starter Signal หรือ Exit Signal)''' ตั้งอยู่ในทิศทางที่ขบวนรถจะออกจากสถานี ทำหน้าที่ห้ามหรืออนุญาตให้ขบวนรถเดินเข้าสู่ตอน หรือตอนอัตโนมัติ หรือสัญญาณออกอันนอก(ถ้ามี)[[ไฟล์:Railway signals.jpg|200px|thumbnail|สัญญาณหางปลา จัดแสดงที่[[:en:National_Railway_Museum|พิพิธภัณฑ์รถไฟแห่งชาติ]] ประเทศอังกฤษ]]'''สัญญาณออกอันนอก (Outer Starter Signal)''' ตั้งอยู่ถัดจากสัญญาณออก เป็นสัญญาณที่อยู่อันนอกสุด ทำหน้าที่เช่นเดียวกับสัญญาณออกหรือหลักเขตสับเปลี่ยน
'''สัญญาณเรียกเข้า (Call-On Signal)''' ตั้งอยู่ร่วมกับสัญญาณเข้าเขตนอกหรือสัญญาณเข้าเขตในชนิดไฟสี ทำหน้าที่อนุญาตให้ขบวนรถเดินผ่านสัญญาณที่อยู่ในที่ห้าม
'''สัญญาณตัวแทน (Repeater Signal)''' ตั้งอยู่ก่อนถึงสัญญาณประจำที่ในกรณีที่ไม่สามารถมองเห็นสัญญาณถัดไปในระยะไกลได้ (เช่นทางโค้ง) โดยแสดงสัญญาณตามท่าของสัญญาณประจำที่ตัวถัดไป
'''สัญญาณอัตโนมัติ (Automatic Signal)''' ตั้งอยู่ในตอนอัตโนมัติทำหน้าที่ห้ามหรืออนุญาตให้ขบวนรถเดินถึงสัญญาณประจำที่ตัวถัดไป
'''สัญญาณผ่านถนนเสมอระดับทาง (Level Crossing Rail Warning Signal)''' ตั้งอยู่ห่างจากขอบถนนที่ตัดผ่านทางรถไฟไม่น้อยกว่า 50 เมตร ทำหน้าที่แสดงให้พนักงานขับรถทราบว่าเครื่องกั้นถนนได้ปิดเรียบร้อยแล้วหรือไม่
<br />
=== ประเภทของเครื่องสัญญาณประจำที่ (Classification of Interlocking Station) ===
การรถไฟแห่งประเทศไทยได้แบ่งประเภทของระบบอาณติสัญญาณประจำสถานีรถไฟ โดยแบ่งตามประเภทของสัญญาณประจำที่ที่ใช้ในแต่ละสถานีดังนี้[[ไฟล์:Rail_TalingchanJn_CLRSS.jpg|200px|thumbnail|อาณัติสัญญาณประจำที่ชนิดไฟสีสามท่า ที่[[สถานีรถไฟชุมทางตลิ่งชัน]]]]
==== ประเภท ก. ประแจกลหมู่ (Class A. Fully Interlocking) ====
▲* '''ก.1ก :''' ประแจกลไฟฟ้า
▲* '''ก.1ข :''' ประแจกลไฟฟ้า
▲* '''ก.2 :''' ประแจกล
1) ประแจกลหมู่ชนิดควบคุมโดยเครื่องกลและไฟฟ้าสัมพันธ์กับสัญญาณไฟสี (Electromechanical Interlocking with Color Light Signals)
2) ประแจกลหมู่ชนิดควบคุมโดยสายลวดสัมพันธ์กับสัญญาณไฟสี (Electromechanical Interlocking but Operated from Lever Frame with Color Light Signals)
* '''ก.3 :''' ประแจสายลวดพร้อมสัญญาณหางปลาชนิดมีสัญญาณเตือน สัญญาณเข้าเขตใน และสัญญาณออกนอก (A3 : Mechanical Interlocking with Semaphore Signals Equiped with Warner Home and Starter Signals)
* '''ก.4 :''' ประแจสายลวดพร้อมสัญญาณหางปลา สัญญาณเข้าเขตใน และสัญญาณออกนอก ไม่มีสัญญาณเตือน (A4 : Mechanical Interlocking with Semaphore Signals Equiped but without Warner Either Equiped with Home and Starter)
▲[[ไฟล์:
==== ประเภท ข. ประแจกลเดี่ยว (Class B. Semi Interlocking) ====
ข. ประแจกลเดี่ยว
====
==== ประเภท ง. (Class D.) ====
▲===หลักเขตสถานี===
ง. สถานีใช้ป้ายเขตสถานี ไม่มีสัญญาณประจำที่ (D : Stations without Signals but with Hand Operated Key Locked Points)
==== ประเภท จ. (Class E.) ====
จ. สถานีใช้ป้ายหยุดรถ หรือที่หยุดรถ (E : Stopping Place)
== ดูเพิ่ม ==
|
การแก้ไข