ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เมาคลีลูกหมาป่า"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Matable (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Matable (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 4:
แก่นเรื่องที่สำคัญในหนังสือ​เล่มนี้คือการถูกทอดทิ้งแล้วได้รับการอุปการะ ซึ่งในชีวิตของเมาคลี เป็นการสะท้อนในวัยเด็กของคิปลิง ในเนื้อหาดังกล่าวจะสะท้อนให้เห็นถึงชัยชนะของตัวละครเอก เช่น Rikki-Tikki-Tavi และ White Seal ที่เหนือต่อศัตรูของพวกเขา เช่นเดียวกับเมาคลี แก่นเรื่องที่สำคัญอีกข้อหนึ่งคือเรื่องของกฎหมายและเสรีภาพ เรื่องราวดังกล่าวไม่ได้เกี่ยวกับพฤติกรรมของสัตว์ ยังมีน้อยที่เกี่ยวกับการต่อสู้ดิ้นรนเพื่อเอาชีวิตรอดของพวกลัทธิดาร์วิน แต่เกี่ยวกับต้นแบบของมนุษย์ในรูปแบบของสัตว์ พวกเขาได้สอนถึงการเคารพอำนาจ เชื่อฟังคำสั่ง และรู้จักกับสถานที่ในสังคมด้วย"กฏแห่งป่า" แต่เรื่องราวยังแสดงให้เห็นถึงอิสรภาพที่จะเคลื่อนย้ายระหว่างโลกที่แตกต่าง เช่น เมื่อเมาคลีได้ย้ายจากป่าไปยังหมู่บ้านของมนุษย์ นักวิจารณ์ได้ตั้งข้อสังเกตถึงความโหดร้ายซึ่งเป็นสิ่งที่สำคัญและอำนาจที่ไร้กฏหมายในเนื้อเรื่อง
 
เมาคลีลูกหมาป่ายังคงเป็นที่นิยม เนื้อหาบางส่วนได้รับการดัดแปลงแก้ไขเอาไว้มากมายสำหรับภาพยนตร์และสื่ออื่นๆ นักวิจารณ์อย่าง Swati Singh ได้ตั้งข้อสังเกตเห็นว่าแม้แต่นักวิจารณ์ท่านอื่นต่างคอยจับตาดูคิปลิงสำหรับการสมมุติถึงลัทธิจักรวรรดินิยมของเขาที่ควรจะยกย่องในการเล่าเรื่องของเขา<ref name="Singh2016" /> หนังสือเล่มนี้ได้มีิมีอิทธิพลใน[[ลูกเสือ|ขบวนการลูกเสือ]] ผู้ก่อตั้งลูกเสืออย่าง[[โรเบิร์ต เบเดน โพเอลล์]] ซึ่งเป็นเพื่อนกับคิปลิง Percy Grainger ได้ตีพิมพ์หนังสือเมาคลีลูกหมาป่าของเขาอีกครั้งที่ประกอบด้วยคำอ้างอิงจากหนังสือเล่มนี้
 
== อ้างอิง ==