ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คณะรัฐมนตรีไทย คณะที่ 36"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
2T (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''[[คณะรัฐมนตรี]]''' คณะที่ 36 ของไทย (14 มีนาคม พ.ศ. 2518 - 12 มกราคม พ.ศ. 2519)
{{เก็บกวาด}}
รัฐบาล ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช 17 มีนาคม พ.ศ. 2518 – 12 มกราคม พ.ศ. 2519
 
[[คึกฤทธิ์ ปราโมช|หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช]] เป็น[[นายกรัฐมนตรี]] ประกาศพระบรมราชโองการ เมื่อวันที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2518 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงลงพระประมาภิไธยในประกาศ
ม.ร.ว. [[คึกฤทธิ์ ปราโมช]] หัวหน้า[[พรรคกิจสังคม]] มีสภาชิกสภาผู้แทนราษฎรเพียง 18 เสียง แต่ได้รับการเลือกตั้งเป็นนายกรัฐมนตรีเพราะได้รับความไว้วางใจจากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรให้เป็นผู้จักตั้งรัฐบาล เพื่อรับผิดชอบในการบริหารราชการแผ่นดินแทน
 
นาย[[ประสิทธิ์ กาญจนวัฒน์]] ประธานรัฐสภา เป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการ
รัฐบาล ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช เป็นรัฐบาลที่เกิดจากการรวมตัวของพรรคการเมืองหลายพรรค ได้แก่ พรรคกิจสังคม พรรคไท พรรคพลังประชาชน และอื่นเรียกว่า “รัฐบาลสหพรรค”
 
ม.ร.ว. [[คึกฤทธิ์ ปราโมช]] หัวหน้า[[พรรคกิจสังคม]] มีสภาชิกสภาผู้แทนราษฎรเพียง 18 เสียง แต่ได้รับการเลือกตั้งเป็นนายกรัฐมนตรีเพราะได้รับความไว้วางใจจากสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรให้เป็นผู้จักตั้งรัฐบาล เพื่อรับผิดชอบในการบริหารราชการแผ่นดินแทน
เพราะได้รับความไว้วางใจจาก สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ให้เป็นผู้จัดตั้งรัฐบาล
 
รัฐบาล ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช เป็นรัฐบาลที่เกิดจากการรวมตัวของพรรคการเมืองหลายพรรค ได้แก่ พรรคกิจสังคม พรรคไท พรรคพลังประชาชน และอื่นเรียกว่า “รัฐบาลสหพรรค”
และพรรคอื่นๆ มีชื่อเรียกรัฐบาลในสมัยนั้นว่า "รัฐบาลสหพรรค"
 
==รายชื่อคณะรัฐมนตรีคณะที่ 36 ของไทย==
ในวันที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2518 มีการแต่งตั้งคณะรัฐมนตรี ดังนี้
 
# พลตรี [[ประมาณ อดิเรกสาร]] เป็นรองนายกรัฐมนตรี
# นาย[[ปรีดา พัฒนถาบุตร]] เป็นรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี
# พลตรี [[ประมาณ อดิเรกสาร]] เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม
# นาย[[บุญชู โรจนเสถียร]] เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
# พลตรี [[ชาติชาย ชุณหะวัณ]] เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ
# นาย[[ทวิช กลิ่นประทุม]] เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
# พลตรี [[ศิริ สิริโยธิน]] เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม
# นาย[[ทองหยด จิตตวีระ]] เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์
# นาย[[บุญเท่ง ทองสวัสดิ์]] เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
# นาย[[ใหญ่ ศวิตชาต]] เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
# นาย[[นิพนธ์ ศศิธร]] เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
# นาย[[ประชุม รัตนเพียร]] เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข
# นาย[[สุรินทร์ เทพกาญจนา]] เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
# พลโท [[ชาญ อังศุโชติ]] เป็นรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัยของรัฐ
# พลเรือเอก [[กมล สีตะกลิน]] เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม
# นาวาอากาศโท [[ทินกร พันธุ์กระวี]] เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง
# นาย[[ดาบชัย อัคราช]] เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
# นาย[[อนันต์ ฉายแสง]] เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
# เรืออากาศตรี [[บุญยงค์ วัฒนพงศ์]] เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม
# นาย[[อนันต์ ภักดิ์ประไพ]] เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม
# พันตำรวจโท [[บุญเลิศ เลิศปรีชา]] เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย
# พันเอก [[ประกอบ ประยูรโภคราช]] เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย
# นาย[[บุญคุ้ม จันทรศรีสุริยวงศ์]] เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงยุติธรรม
# นาย[[ประเสริฐ บุญสม]] เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
# นาย[[สุวรรณ ธนกัญญา]] เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
# นาย[[อุทัย ชุณหะจันทน์]] เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข
 
==การปรับคณะรัฐมนตรี==
 
คณะรัฐมนตรีมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง ดังนี้ คือ
* วันที่ 10 เมษายน พ.ศ. 2518 นายไชยศิริ เรืองกาญจนเศรษฐ์ เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์
* วันที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2519 มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้
# นายใหญ่ ศวิตชาต พ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
# พลโท ชาญ อังศุโชติ พ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัยของรัฐ
# พลเรือเอก กมล สีตะกลิน พ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงกลาโหม
# นายอนันต์ ภักดิ์ประไพ พ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
# นายบุญคุ้ม จันทรศรีสุริยวงศ์ พ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงยุติธรรม
# นายประเสริฐ บุญสม พ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
# หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย อีกตำแหน่งหนึ่ง
# นายทวิช กลิ่นประทุม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป็นรองนายกรัฐมนตรี อีกตำแหน่งหนึ่ง
# นายบุญเท่ง ทองสวัสดิ์ พ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย และตั้งให้เป็นรองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
# นายนิพนธ์ ศศิธร พ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และตั้งให้เป็น รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัยของรัฐ
# นายประชุม รัตนเพียร พ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข และตั้งให้เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
# นายสวัสดิ์ คำประกอบ เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข
# นายประภัทรพงศ์ เวชชาชีวะ เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง
# นายประเทือง คำประกอบ เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการต่างประเทศ
# นายบุญส่ง สมใจ เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
# นายอนันต์ ฉายแสง พ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม และตั้งให้เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข
# นายประทวน รมยานนท์ เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม
# นายธเนศ เอียสกุล เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์
# นายปัญจะ เกสรทอง เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
# นายแสวง พิบูลย์สราวุธ เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
# นายวัฒนา อัศวเหม เป็นรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม
* วันที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2519 ได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้
# นายทวิช กลิ่นประทุม พ้นจากตำแหน่งรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
# นายบุญส่ง สมใจ พ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
# นายอนันต์ ฉายแสง พ้นจากตำแหน่งรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข
 
===นโยบายของรัฐบาลสหพรรค===
เส้น 20 ⟶ 86:
#การสังหารผู้นำกลุ่มต่างๆที่เกิดขึ้นจากความขัดแย้งเรื่องผลประโยชน์และอุดมการณ์ เช่น การเรียกร้องขอขึ้นค่าแรงจากผู้ประกอบการในบริษัทต่างๆ การเรียกร้องกรรมสิทธิ์ที่ทำกินของชาวไร่ชาวนา ผู้ทำการเรียกร้องถูกมองว่าฝักใฝ่ในเรื่องคอมมิวนิสต์
 
==การสิ้นสุดของคณะรัฐมนตรีคณะที่ 36 ของไทย==
เนื่องจากพรรคร่างร่วมรัฐบาลนั้นขึ้นหลายพรรคการเมืองทำให้รัฐบาลไม่มีเสถียรภาพมั่นึงเพียงพอ ดังนั้น ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช จึงประกาศยุบสภาผู้แทนราษฎรและกำหนดการเลือกตั้งในวันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2519
คณะรัฐมนตรีคณะนี้สิ้นสุดลง เนื่องจากมีพระราชกฤษฎีกายุบสภาผู้แทนราษฎร ตามความในมาตรา 187 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
เนื่องจากโดยที่มีพรรคร่างร่วมรัฐบาลนั้นขึ้นหลายพรรคการเมืองทำให้รัฐบาลไม่มีเสถียรภาพมั่นึงเพียงพอมั่นคงเพียงพอ ดังนั้น ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช จึงประกาศยุบสภาผู้แทนราษฎร และกำหนดการเลือกตั้งในวันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2519
 
คณะรัฐมนตรีซึ่งมี ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช เป็นนายกรัฐมนตรี จึงพ้นจากตำแหน่งไป
 
{{คณะรัฐมนตรี}}