ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เทศบาลนครรังสิต"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ปรับปรุงเนื้อหาครั้งใหญ่
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 39:
}}
 
'''เทศบาลนครรังสิต''' หรือ '''นครรังสิต''' เป็น[[เทศบาลนครในประเทศไทย|เทศบาลนคร]]ในเขตตำบลประชาธิปัตย์ [[อำเภอธัญบุรี]] [[จังหวัดปทุมธานี]] โดยนครรังสิตเป็นเมือง[[ปริมณฑล]]ที่รองรับการขยายตัวของ[[กรุงเทพมหานคร]]ในทางตอนเหนือ ในปัจจุบัน รังสิตกลายเป็นจุดศูนย์กลางในการเดินทางต่อไปยังบาง[[จังหวัด]]ใน[[ภาคเหนือ]] [[ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ]] และ[[ภาคตะวันออก]]
 
== ประวัติ ==
 
*[[พ.ศ. 2537]] สุขาภิบาลประชาธิปัตย์ได้ยกฐานะเป็น '''เทศบาลตำบลประชาธิปัตย์''' ตาม[[ราชกิจจานุเบกษา]] เล่มที่ 111 ตอนที่ 94 ลงวันที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2537 และมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2537
* 31 สิงหาคม พ.ศ. 2498 จัดตั้ง '''สุขาภิบาลประชาธิปัตย์''' ในพื้นที่ตำบลประชาธิปัตย์ตั้งแต่ทางรถไฟสายเหนือจนถึงคลองหนึ่ง ประกาศใน[[ราชกิจจานุเบกษา]] เล่มที่ 72 ตอนที่ 74 ลงวันที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2498<ref>{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume=72|issue=74 ง|pages=(ฉบับพิเศษ) 20-21|title=ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง จัดตั้งสุขาภิบาลประชาธิปัตย์ อำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2498/D/074/20.PDF|date=17 กันยายน 2498|language=}}</ref>
*[[2 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2546]] เทศบาลตำบลประชาธิปัตย์ได้จัดตั้งเป็น[[เทศบาลเมือง]] และเปลี่ยนชื่อใหม่เป็น '''เทศบาลเมืองรังสิต''' การจัดตั้งและเปลี่ยนชื่อเป็นไปตาม[[พระราชกฤษฎีกา]] ประกาศใน[[ราชกิจจานุเบกษา]]เล่มที่ 120 ตอนที่ 36 ก ลงวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2546<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/00124520.PDF พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งเทศบาลเมืองรังสิต พ.ศ. ๒๕๔๖]</ref>
* 5 มีนาคม พ.ศ. 2506 มีการขยายพื้นที่สุขาภิบาลประชาธิปัตย์ให้ครอบคลุมตำบลประชาธิปัตย์ทั้งตำบล ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 80 ตอนที่ 32 ลงวันที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2506<ref>{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume=80|issue=32 ง|pages=873-874|title=ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง เปลี่ยนแปลงเขตสุขาภิบาลประชาธิปัตย์ อำเภอธัญญบุรี จังหวัดปทุมธานี|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2506/D/032/873.PDF|date=2 เมษายน 2506|language=}}</ref>
*[[29 เมษายน]] [[พ.ศ. 2554]] กระทรวงมหาดไทยได้ยกฐานะเป็น[[เทศบาลนครรังสิต]]
 
*[[2 ธันวาคม พ.ศ. 2537]] สุขาภิบาลประชาธิปัตย์ได้ยกฐานะเป็น '''เทศบาลตำบลประชาธิปัตย์''' ตาม[[ประกาศในราชกิจจานุเบกษา]] เล่มที่ 111 ตอนที่ 94 ลงวันที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2537<ref>{{cite และมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume=111|issue=49 2ก|pages=33-36|title=พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งเทศบาลตำบลประชาธิปัตย์ ธันวาคมอำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี พ.ศ. ๒๕๓๗|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2537/A/049/33.PDF|date=2 พฤศจิกายน 2537|language=}}</ref>
*[[2 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2546]] เทศบาลตำบลประชาธิปัตย์ได้จัดตั้งเป็น[[เทศบาลเมือง]] และเปลี่ยนชื่อใหม่เป็น '''เทศบาลเมืองรังสิต''' การจัดตั้งและเปลี่ยนชื่อเป็นไปตาม[[พระราชกฤษฎีกา]] ประกาศใน[[ราชกิจจานุเบกษา]] เล่มที่ 120 ตอนที่ 36 ก ลงวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2546<ref>[{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume=120|issue=36 ก|pages=18-20|title=พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งเทศบาลเมืองรังสิต พ.ศ. ๒๕๔๖|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/00124520.PDF|date=1 พระราชกฤษฎีกาจัดตั้งเทศบาลเมืองรังสิตพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๔๖]2546|language=}}</ref>
*29 เมษายน พ.ศ. 2554 กระทรวงมหาดไทยได้ยกฐานะเทศบาลเมืองรังสิตขึ้นเป็น '''เทศบาลนครรังสิต''' ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 128 ตอนพิเศษ 61 ง ลงวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2554'''<ref>{{cite journal|journal=ราชกิจจานุเบกษา|volume=128|issue=พิเศษ 61 ง|pages=42|title=ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง เปลี่ยนแปลงฐานะเทศบาลเมืองรังสิต อำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี เป็นเทศบาลนครรังสิต|url=http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2554/E/061/42.PDF|date=1 มิถุนายน 2554|language=}}</ref>'''
 
== ภูมิศาสตร์ ==
เส้น 62 ⟶ 66:
 
== สัญลักษณ์ ==
สัญลักษณ์ดวงตราเทศบาลนครรังสิต เป็นรูปวงกลม ประกอบด้วย คำว่า “เทศบาลนครรังสิต” “จังหวัดปทุมธานี” รูปรวง[[ข้าว]] [[ก๋วยเตี๋ยวเรือ]] และรูป[[ดอกบัวหลวง]] โดยรวงข้าวแสดงถึงความอุดมสมบูรณ์จากน้ำในคลองรังสิต ก๋วยเตี๋ยวเรือ แสดงถึงวิถีการดำรงชีวิตของชาวคลองรังสิต รูปดอกบัวหลวงเป็นสัญลักษณ์ที่อยู่คู่กับคลองรังสิตมาแต่โบราณ นอกจากนี้ ด้านล่างยังมีเงาของสัตว์พื้นถิ่นปทุมธานีที่เคยพบในพื้นที่ของ[[ทุ่งรังสิต]]ในอดีตและได้บางชนิด[[สูญพันธุ์]]ไปแล้ว ได้แก่ กวางสมัน หรือ เนื้อ[[สมัน]] [[ช้างป่า]] [[ควายป่า]] และ[[เสือ]] ซึ่งลงมาจากป่าเขาใหญ่เพื่อหาอาหารกินบริเวณทุ่งหญ้าอาณาเขตบริเวณรังสิต ซึ่งต่อมาพื้นที่บริเวณนี้ถูกเรียกว่าทุ่งหลวง และทุ่งรังสิต และยังกินพื้นที่ไปถึง เขต[[เทศบาลเมืองท่าโขลงของ]] ใน[[อำเภอคลองหลวง]] และชื่อ[[อำเภอหนองเสือ]]ในปัจจุบัน
 
== ประชากร ==
เทศบาลนครรังสิตมีประชากรทั้งสิ้น จำนวน 76,973 คน แยกเป็นประชากรชายจำนวน 36,263 คน ประชากรหญิงจำนวน 40,710 คน ความหนาแน่นประชากรโดยเฉลี่ย 3,701 คน ต่อพื้นที่ 1 ตารางกิโลเมตร ประชากรส่วนใหญ่มีอาชีพที่ผสมผสานระหว่างการเกษตร,การอุตสาหกรรม,การบริการ และการพาณิชย์ ปัจจุบันการขยายตัวในภาคอุตสาหกรรม การพาณิชย์ และการบริการอยู่ในอัตราที่สูง ทำให้มีผู้สนใจในภาคการเกษตรอยู่ในอัตราที่น้อยลง
 
ในด้านศาสนานั้น เทศบาลนครรังสิตมี[[วัด]]จำนวน 3 แห่ง ได้แก่ [[วัดแสงสรรค์]] [[วัดคลองหนึ่งแก้วนิมิตร]] และวัด[[สำนักสงฆ์จันทรสุข|วัดจันทรสุข]]
 
== โครงสร้างพื้นฐาน ==
เส้น 113 ⟶ 117:
 
=== การขนส่ง ===
ถนนในเขตเทศบาลนครรังสิตมีจำนวน 41 สาย รวมเป็นระยะทาง 53,670 เมตร ประชาชนโดยส่วนใหญ่ใช้ถนนเป็นเส้นทางคมนาคม เส้นทางคมนาคมรองลงมาคือ ทางน้ำ ซึ่งเป็นเส้นทางคมนาคมที่สำคัญมากในอดีต ในปัจจุบันยังมีการคมนาคม ขนส่งทางน้ำบ้างสำหรับติดต่อภายในเขตนครรังสิต และพื้นที่ใกล้เคียง เส้นทางน้ำที่สำคัญ ได้แก่ [[คลองหนึ่ง]] ถึง[[คลองสอง]] [[คลองสาม]] และ[[คลองรังสิตประยูรศักดิ์]] และทางรถไฟสามารถขึ้นรถไฟจาก[[สถานีรถไฟกรุงเทพ]]แล้วลงที่[[สถานีรถไฟรังสิต]]ได้
 
== อ้างอิง ==