ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เทศกาลพ้อต่อ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
→‎อ้างอิง: ที่จัดไม่เหมือนที่อื่น
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Benedict TKA (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มรายละเอียดเกี่ยวกับการไหว้วิญญาณไร้ญาติ ฯลฯ
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 14:
=== เกี่ยวข้องกับตำนานของพุทธมหายาน ===
ในพระสูตรฝ่ายมหายาน ''โยคะตันตระอัคนีชวาลมุขเปรตพลีโยคกรรม'' หรือพระสูตรว่าด้วยพิธีเทกระจาด มีใจความกล่าวว่า
สมัยหนึ่งพระพุทธเจ้า [[พระโคตมพุทธเจ้า|(พระศากยมุนีพุทธเจ้า)]] ทรงประทับ ณ วัดนิโครธาราม ในเมืองกรุงกบิลพัสดุ์ ขณะนั้น [[พระอานนท์]] พุทธอนุชา ทรงปลีกวิเวกไปเข้าฌาณสมาบัติในป่า ขณะที่กำลังเข้าฌาณอยู่นั้น มีเปรตตนหนึ่ง
สภาพน่าเกลียดร่างกายดำ ผอมแห้ง ในปากมีไฟพลุ่โพล่งอยู่ตลอดเวลา ได้กล่าวกับกับพระอานนท์ว่า "หากพระคุณเจ้าไม่กระทำการกุศลอุทิศให้กับเหล่าฝูงเปรต แลคนยากคนจนทั้งหลาย อีก 3 วัน พระคุณเจ้าจักถึงกาลมรณภาพ"
[[พระอานนท์]]พุทธอนุชาทรงหวาดกลัวอย่างยิ่ง จึงกับไปที่วัดนิโครธาราม แล้วได้ทรงถามพระผู้มีพระภาคถึงเรื่องที่เกิดขึ้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงทรงตอบกลับพระอานนท์ผู้เป็นพุทธอนุชาว่า
บรรทัด 20:
เพราะว่าสมัยก่อนนั้น เรา ตถาคตเคยเป็นศิษย์ของสำนักพระอวโลกิเตศวร ซึ่งพระองค์ทรงเคยสอนมหาธารณีมนตร์แก่เรา อันเรานำมาใช้โปรดเหล่าสรรพสัตว์และเพื่อโปรดเหล่าเปรต
ซึ่งเป็นมหากุศลอันใหญ่ยิ่ง บัดนี้เรา ตถาคต จักแสดงเหล่าธารณีมนตร์ให้แก่เธอเพื่อใช้โปรดสัตว์"
 
ซึ่งในช่วงเดือนเจ็ด เป็นเทศกาลเปิดประตูนรก พิธีนี้จึงเกี่ยวข้องกับพิธีพ้อต่อ ซึ่งพ้อต่อหมายถึง"อนุเคราะห์คนยากจน" ซึ่งคำนี้มาจากพิธีนี้
 
==== พ้อต่อก้ง กวนอิมไต่ซู ไต่สือเอี้ย พระผู้คุมวิญญาณในพิธีพ้อต่อเดือนเจ็ด ====
ไต่สือเอี้ย (大士爺) พ้อต่อก้ง (普渡公) กวนอิมไต่สือ(觀音大士) คือพระผู้คุมวิญญาณภูตผีปีศาจในพิธีเดือนเจ็ด ประวัติก็สืบเนืองจากในพระสูตรมหายาน ''โยคะตันตระอัคนีชวาลมุขเปรตพลีโยคกรรม''
ซึ่งไต่สือเอี้ยก็คือเปรตที่พระอวโลกิเตศวร (เจ้าแม่กวนอิม) แปลงกายมาให้พระอานนท์เห็น นั้นเอง ในพิธีเลยบูชารูปไต่สือเอี้ยเพื่อเป็นสัญลักษณ์ในการเทกระจาด และในความเชื่อคนโบราณกล่าวว่า
ไต่สือเอี้ย คือพระยายมราช เลยต้องมาตั้งบูชาเพื่อไม่ให้เหล่าภูตผีแย่งชิงอาหารหรือก่อกวนในปรัมพิธี เทวรูปของพระองค์ทำมาจากโครงไม้ไผ่ ประดับด้วยกระดาษสีสันต่างๆ พระวรกายกายสีน้ำเงิน ใส่ชุดเกราะทรงเครื่องแบบจีนเต็มยศ มีพระอวโลกิเตศวร (พระแม่กวนอิม)
อยู่บนยอดศีรษะของ (บางที่ไม่มี) ไต่สือเอี้ย มือซ้ายที่ป้อก่าย (ธง) เขียนว่า '''南無阿彌陀佛''' "[[พระอมิตาภะพุทธะ|นำมอออนีถ่อฮุด]]" แต่บางที่จะเขียนว่า '''慶讃中元''' "เค่งจั๋นตงหงวน" นิ้วมือขวาซ้ายชี้ลงเบื้องล่าง องค์ขนาดสูง20นิ้ว จนถึงสูงเท่าตึก3ชั้น ข้างองค์ไต่สือเอี้ย จะมีเทวรูปที่ทำจากกระดาษของ [http://www.somboon.info/default.asp?content=contentdetail&id=9696 ยมทูตขาว และ ยมทูตดำ] (หรือบางท้องถิ่น จะเป็นยมบาลยมทูตขาว กับเจ้าพ่อหลักเมืองแทน)
 
== แนวปฏิบัติ ==
ในช่วงเทศกาล ผู้คนจะจัดโต๊ะตั้งสำรับอาหารเพื่อเซ่นไหว้ บูชาวิญญาณบรรพบุรุษเอาไว้ โดยทั่วไปแล้วจะทำกันในตอนบ่ายของวันขึ้น 1 ค่ำ เดือน 7 ตามปฏิทินจีน อาหารเซ่นไหว้โดยมาก มักประกอบไปด้วย ปลา หมู เป็ด ไก่ ผัก ผลไม้ และขนมต่าง ๆ ซึ่งข้าวของที่ตั้งบนโต๊ะบูชาทุกอย่าง จะต้องมีธูปปักไว้อย่างละ 1 เล่มและบางคนก็นำประทัดมาจุดจำนวนมากจนเมื่อทำการเซ่นไหว้เสร็จแล้ว ก็จะทำการเผากระดาษเงิน อันหมายถึงการแจกจ่ายค่าเดินทาง ให้แก่เหล่าดวงวิญญาณบรรพบุรุษเหล่านั้นด้วย โดยมักมีขนมรูปเต่าสีแดง เรียกว่า ''อั่งกู'' รวมอยู่ด้วยแทบทุกครั้งของการทำบุญ
 
ส่วนการทำบุญแก่วิญญาณไร้ญาติ ถ้าไหว้ที่มูลนิธิ หรือที่วัดที่ประกอบพิธีกรรม ผู้คนจะนำอาหารมาตั้งไว้ให้แก่วิญญาณเหล่านั้นที่โต๊ะ ซึ่งคณะกรรมการจะจัดงานเตรียมไว้ให้ หากเป็นการไหว้วิญญาณไร้ญาติที่บ้านเรือน จะนิยมไหว้หลังจากตอนบ่ายไปแล้ว หรือไหว้ตอนพลบค่ำ โดยจะตั้งอาหารเครื่องเซ่นบนโต๊ะขนาดเล็กหรือบนพื้น เมื่อไหว้เสร็จแล้วก็จะนำอาหารมารับประทาน บุคคลที่ถือเคล็ด มีครูบาอาจารย์ ก็จะไม่นิยมทานกัน
<br />
ครับ
=== ไหว้วิญญานเร่ร่อน ===
มีชื่อเรียกในภาษาฮกเกี้ยนว่า "ป้ายหมึงเข้า"([[จีน]]: 拜門口)หรือ "ป่ายโฮ่เฮียตี่" ([[จีน]]: 拜好兄弟) ซึ่งโฮ่เฮียตี่ แปลว่า พี่น้องที่ดีใช่เรียกบรรดาดวงวิญญาณไม่มีญาติ
เส้น 88 ⟶ 89:
* [http://travel.sina.com.cn/world/2009-09-05/1552105383.shtml 中元普渡:台湾大祭祀 (组图)]
 
{{รายการอ้างอิง}} http://www.somboon.info/default.asp?content=contentdetail&id=9696<nowiki/>{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Ghost Festival|เทศกาลพ้อต่อ}}
{{รายการอ้างอิง}}
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Ghost Festival|เทศกาลพ้อต่อ}}
{{เทศกาลจีน}}
[[หมวดหมู่:วันสำคัญ|สารทจีน]]