ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จอห์น ฟอน นอยมันน์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Kinkku Ananas (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Kinkku Ananas (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 3:
'''จอห์น ฟอน นอยมันน์''' ({{lang-en|John von Neumann}}; {{lang-hu|Neumann János Lajos}}; 28 ธันวาคม 1903 - 8 กุมภาพันธ์ 1957) เป็นนักคณิตศาสตร์[[ชาวอเมริกันเชื้อสายฮังการี]] มีผลงานสำคัญในหลายสาขา ทั้ง [[คณิตศาสตร์]]สาขาต่างๆ [[ควอนตัมฟิสิกส์]] [[ทฤษฎีเกม]] [[วิทยาการคอมพิวเตอร์]] และ[[สถิติศาสตร์]]
 
== พื้นฐานครอบครัวและชีวิตช่วงแรก ==
== ประวัติ ==
จอห์น ฟอน นอยมันน์ เกิดวันที่ 28 ธันวาคม ค.ศ. 1903 ที่เมือง[[บูดาเปสต์]] [[ประเทศฮังการี|ฮังการี]] ซึ่งในขณะนั้นเป็นส่วนหนึ่งของ[[จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี]] เขาเป็นบุตรชายคนโตในพี่น้องสามคน มีชื่อเดิมของฟอน นอยมันน์ตอนเกิดใน[[ภาษาฮังการีคือ]]ว่า นอยมันน์ ยาโนช ลาโยช ({{lang|hu|Neumann János Lajos}}; ตามธรรมเนียมฮังการีจะเรียงนามสกุลขึ้นก่อน) ครอบครัวของฟอน นอยมันน์เป็น[[ชาวยิว]]ที่ไม่เคร่งครัดศาสนาและมีฐานะทางเศรษฐกิจดี{{r|Israel Millan|page1=1}} บิดาคือของเขาชื่อ Neumannนอยมันน์ Miksaมิคชา (Max {{lang|hu|Neumann Miksa}}) จบการศึกษาด้านกฎหมายและทำงานเป็นนักการนายธนาคาร และ มารดาคือของเขาชื่อคันน์ Kann Margitมาร์กิท (Margaret {{lang|hu|Kann) นอยมันน์มีชื่อเล่น ว่า Margit}}) "Jancsi" เขาเติบโตมาในจากครอบครัวชาว[[ยิว]]ที่ไม่เคร่งครัด และได้แสดงถึงความจำที่เป็นเลิศ มาตั้งแต่ยังเป็นเด็ก โดยสามารถทำธุรกิจค้าขายอุปกรณ์การหารเลขเกษตร 8เขามีน้องชายสองคนชื่อ หลักในใจได้ตอนอายุมีฮาย 6({{lang|hu|Mihály}}) ปี.และมีโคลช ({{lang|hu|Miklós}}){{r|Israel Millan|page1=2}} ในปี 1913 บิดาของจอห์นได้รับฐานันดรศักดิ์จาก[[ค.ศ.จักรพรรดิฟรันทซ์ 1911โยเซ็ฟที่ 1 แห่งออสเตรีย|จักรพรรดิฟรันทซ์ โยเซ็ฟ]] ก็เข้าเรียนที่ทำให้ครอบครัวสามารถใช้ชื่อยศเพิ่มว่า Lutheran Gymnasiumมาร์กิททาย (ในประเทศเยอรมนี,{{lang|hu|Margittai}} gymnasiumแปลว่า หมายถึง โรงเรียนมัธยมปลาย"แห่งเมืองมาร์กิททา") พอปี [[ค.ศ. 1913]] เนื่องจากคุณพ่อและเป็นที่มาของเขาได้รับตำแหน่ง (การเติมยศ) เขาจึงได้รับ"ฟอน" ในชื่อใน[[ฉบับภาษาเยอรมัน]]ของครอบครัว{{r|Israel von จึงใช้ชื่อเต็มเป็น János von NeumannMillan|page1=2}}
 
ฟอน นอยมันน์ได้รับการศึกษาจากครูส่วนตัวจนถึงอายุสิบปี หลังจากนั้นเขาได้เข้าศึกษาที่โรงเรียนมัธยมนิกายลูเทอรันซึ่งเป็นโรงเรียนชั้นนำในบูดาเปสต์ ฟอน นอยมันน์แสดงความอัจฉริยะตั้งแต่วัยเด็ก โดยได้ศึกษาคณิตศาสตร์แคลคูลัสตั้งแต่อายุแปดปี{{r|Halmos}} ลาสโล ราทซ์ อาจารย์คณิตศาสตร์ที่โรงเรียนมัธยม ได้สังเกตความสามารถทางคณิตศาสตร์ของฟอน นอยมันน์ในช่วงสองสามเดือนแรกที่เขาเข้าเรียน และแนะนำให้ครอบครัวจ้างครูส่วนตัวมาสอนคณิตศาสตร์ขั้นสูงให้กับเขา{{r|Israel Millan|page1=3}}
== ผลงาน ==
เขาเรียนจบปริญญาเอกสาขาคณิตศาสตร์ จาก [[มหาวิทยาลัยบูดาเปส]] ประเทศฮังการี ตอนอายุ 23 ปี
 
เมื่อฟอน นอยมันน์อายุได้ 17 ปี พ่อของเขาไม่ต้องการให้เขาศึกษาต่อด้านคณิตศาสตร์ ทำให้ฟอน นอยมันน์เลือกศึกษา[[วิชาเคมี]]ที่[[มหาวิทยาลัยฮุมบ็อลท์แห่งเบอร์ลิน|มหาวิทยาลัยเบอร์ลิน]] ในปี 1926 ฟอน นอยมันน์ในวัย 23 ปีได้รับปริญญาบัตรด้านวิศวกรรมเคมีจาก[[สถาบันเทคโนโลยีแห่งสหพันธ์สวิสในซูริก]] และยังได้รับปริญญาเอกสาขาคณิตศาสตร์จากมหาวิทยาลัยบูดาเปสต์ในปีเดียวกัน{{r|Halmos}}
 
== ผลงาน ==
ระหว่างปี [[ค.ศ. 1926]] ถึง [[ค.ศ. 1930|1930]] เขาทำงานเป็น "อาจารย์อิสระ" ("Privatdozent" เป็นตำแหน่งในระบบมหาวิทยาลัยยุโรป สำหรับผู้ที่ต้องการจะเป็นศาสตราจารย์มหาวิทยาลัย ตำแหน่งนี้ไม่มีเงินเดือนประจำ) โดยในขณะนั้นเขาเป็นอาจารย์อิสระที่อายุน้อยที่สุด[[มหาวิทยาลัยเบอร์ลิน]] [[ประเทศเยอรมนี]]
 
เส้น 28 ⟶ 30:
 
จาก [http://fens.sabanciuniv.edu/msie/operations_research_50_years/anniversary/or50/1526-5463-2002-50-01-0042.pdf การโปรแกรมเชิงเส้น] ที่เขียนโดย George B. Dantzig ซึ่งเป็นผู้ที่คิดค้น simplex method ที่ใช้แก้ปัญหาการโปรแกรมเชิงเส้น เขาได้เขียนถึงนอยมันน์ จากประสบการณ์ที่ได้ไปพบและขอคำแนะนำจากนอยมันน์ และยังได้สะท้อนถึงบุคลิกของนอยมันน์ และได้เล่าถึงตอนที่นอยมันน์ได้ช่วยเหลือ โดยการตอบคำถามของ Hotelling (ผู้คิดค้น [[Principal components analysis]]) ระหว่างการนำเสนอผลงานการโปรแกรมเชิงเส้นของเขา
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง|refs=
<ref name="Israel Millan">{{cite book |last1=Israel |first1=Giorgio |last2=Millán Gasca |first2=Ana |date=2009 |title=The world as a mathematical game: John von Neumann and twentieth century science |location=Basel |publisher=Birkhäuser |isbn=978-3-7643-9895-8 |doi=10.1007/978-3-7643-9896-5}}</ref>
<ref name="Halmos">{{cite journal |last1=Halmos |first1=Paul R. |date=1973 |title=The legend of John Von Neumann |journal=American Mathematical Monthly |volume=80 |issue=4 |pages=382-394 |doi=10.2307/2319080}}</ref>
}}
 
{{birth|1903}}{{death|1957}}