ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระราชบัญญัติ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Wedjet (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
Yugiboy8701 (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 8431763 สร้างโดย Wedjet (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 9:
พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญมีศักดิ์สูงกว่าพระราชบัญญัติทั่วไป
 
*== [[ประเภทพระราชบัญญัติ (ประเทศไทย)]]==
== ดูเพิ่ม ==
พระราชบัญญัติตามรัฐธรรมนูญปี พ.ศ.2560 แบ่งออกเป็น 3 ประเภท:<ref>https://www.im2market.com/2018/01/28/4699</ref>
* [[พระราชบัญญัติ (ประเทศไทย)]]
 
# [[พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ]] --> พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ (Organic Law) ถือว่ามีสักสูงกว่าพระราชบัญญัติทั่วไป เป็นกฎหมายที่มีลักษณะเป็นส่วนหนึ่งของรัฐธรรมนูญ ที่ทำหน้าที่อธิบายขยายความและกำหนดรายละเอียดสาระสำคัญของเรื่องต่างๆ ในรัฐธรรมนูญตามที่รัฐธรรมนูญกำหนดให้มีความสมบูรณ์ครบถ้วนและชัดเจนยิ่งขึ้น พร้อมกับมีบทบัญญัติโทษอย่างชัดเจน <ref>http://wiki.kpi.ac.th/index.php?title=%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%8A%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B8%8D%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%AD%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%90%E0%B8%98%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%99%E0%B8%B9%E0%B8%8D<br /></ref> ในปัจจุบัน รัฐธรรมนูญราชอาณาจักรไทยปี พ.ศ.2560 มาตรา 130 กำหนดให้มีพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ ดังต่อไปนี้:
== อ้างอิง ==
## พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
{{รายการอ้างอิง}}
## พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการได้มาซึ่งวุฒิสภา
## พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะกรรมการการเลือกตั้ง
## พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง
## พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยผู้ตรวจการแผ่นดิน
## พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต
## พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน
## พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญ
## พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง
## พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
#[[พระราชบัญญัติ]] --> เป็นกฎหมายที่กำหนดกฎเกณฑ์ทั่วไป เป็นข้อบังคับกำหนดความประพฤติของบุคคล
#พระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงิน --> พระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงิน (Money Bill) เป็นพระราชบัญญัติที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับเรื่องเงิน ภาษีอากร เงินตรา การกู้เงิน การค้ำประกัน หรืองบประมาณแผ่นดิน ซึ่งจะต้องใช้กระบวนการในการเสนอและการพิจารณารวมทั้งเงื่อนไขเวลาในการยกขั้นพิจารณาใหม่เมื่อถูกยับยั้ง แตกต่างจากพระราชบัญญัติทั่วไป <ref>http://wiki.kpi.ac.th/index.php?title=%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%8A%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B8%8D%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A2%E0%B8%A7%E0%B8%94%E0%B9%89%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%87%E0%B8%B4%E0%B8%99</ref>มากไปกว่านั้น ตามมาตรา 133 แห่งรัฐธรรมนูญราชอาณาจักรไทยปี พ.ศ. 2560 ร่างพระราชบัญญัติการเงินจะเสนอได้ จะต้องได้รับคำรับรองจากนายกรัฐมนตรีด้วย หากมิใช่การเสนอโดยคณะรัฐมนตรี <ref>http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2560/A/040/1.PDF</ref>
 
ทั้งนี้รัฐธรรมนูญราชอาณาจักรไทยปี พ.ศ.2560 มาตรา 134 วรรค 2 วรรค 3 และ วรรค 4 ได้กำหนดไว้ว่า หากร่างพระราชบัญญัติใดเป็นที่สงสัยว่ามีลักษณะเกี่ยวข้องกับการเงินหรือไม่ ให้เป็นอำนาจของที่ประชุมร่วมกันของประธานสภาผู้แทนราษฎรและประธานคณะกรรมาธิการสามัญของสภาผู้แทนราษฎรทุกคณะเป็นผู้วินิจฉัย โดยให้ประธานสภาผู้แทนราษฎรจัดให้มีการประชุมภายในสิบห้าวัน นับแต่ได้รับเรื่องข้อสงสัยดังกล่าว มติของที่ประชุมตามวรรค 2 ให้ใช้เสียงข้างมากเป็นประมาณการ หากมีคะแนนเสียงเท่ากัน ให้ประธานสภาผู้แทนราษฎรออกเสียงอีกหนึ่งเสียงเป็นเสียงชี้ขาด
 
== การเสนอร่างพระราชบัญญัติทั่วไป ==
ตามมาตรา 133 รัฐธรรมนูญราชอาณาจักรไทยปี พ.ศ. 2560 กำหนดไว้ว่า ร่างพระราชบัญญัติจะถูกบังคับใช้ได้เป็นกฎหมายนั้น จะต้องได้รับการเสนอต่อสภาผู้แทนราษฎรก่อน และ จะเสนอได้โดย:
 
# คณะรัฐมนตรี
# สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจำนวนไม่น้อยกว่ายี่สิบคน
# ผู้มีสิทธิเลือกตั้งจำนวนไม่น้อยกว่าหนึ่งหมื่นคน ซึ่งเสนอได้เฉพาะกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับหมวด 3 สิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทย และ หมวด 5 หน้าที่ของรัฐ
 
== รูปแบบของพระราชบัญญัติ ==
การเสนอร่างพระราชบัญญัติเพื่อให้รัฐสภาพิจารณา จะต้องเป็นไปตามรูปแบบของร่างพระราชบัญญัติ ที่กำหนดไว้ ดังมีรายละเอียดต่อไปนี้ <ref>http://wiki.kpi.ac.th/index.php?title=%E0%B8%A3%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%8A%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B8%8D%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B4</ref>
 
1. บันทึกหลักการและเหตุผล เพื่อเป็นการแสดงขอบเขตและเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติ
 
2. ชื่อร่างพระราชบัญญัติ เพื่อให้ทราบว่าพระราชบัญญัติมีเนื้อหาหรือสาระที่จะใช้บังคับแก่เรื่องใด
 
3. คำปรารภ เพื่อทราบถึงขอบเขตของพระราชบัญญัติ
 
4. บทจำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลตามรัฐธรรมนูญ เพื่อแสดงให้ทราบว่าพระราชบัญญัติมีบทบัญญัติที่จำกัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลตามรัฐธรรมนูญมาตราใดบ้าง
 
5. วันใช้บังคับของพระราชบัญญัติ เพื่อระบุถึงสภาพบังคับของกฎหมายว่าจะให้มีผลใช้บังคับเมื่อใด
 
6. บทยกเลิกกฎหมาย เพื่อระบุว่ากฎหมายใดจะไม่ให้มีผลใช้บังคับต่อไป
 
7. บทนิยาม เพื่อกำหนดความหมายของถ้อยคำหรือข้อความในกฎหมาย
 
8. มาตรารักษาการ เพื่อให้มีรัฐมนตรีเป็นผู้มีหน้าที่ปฏิบัติการให้เป็นไปตามกฎหมาย
 
9. เนื้อหาของร่างพระราชบัญญัติ จัดแบ่งเป็นหมวดหมู่ตามลำดับความสำคัญเป็นกลุ่ม ๆ โดยมุ่งหมายให้ง่ายต่อการทำความเข้าใจ
 
10. บทเฉพาะกาล เพื่อรองรับการดำเนินการใด ๆ หรือผลกระทบบางประการที่เกิดขึ้นก่อนที่พระราชบัญญัติมีผลใช้บังคับ
 
11. บัญชีท้ายพระราชบัญญัติ เพื่อกำหนดรายละเอียดบางประการแทนการกำหนดในเนื้อหาของพระราชบัญญัติ
 
12. ในการเสนอร่างพระราชบัญญัติต้องมีบันทึกวิเคราะห์ สรุปสาระสำคัญของร่างพระราชบัญญัติเสนอมาพร้อมกับร่างพระราชบัญญัติด้วย
 
== กระบวนการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ ==
 
 
<ref>http://wiki.kpi.ac.th/index.php?title=%E0%B8%A3%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%8A%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B8%8D%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B4</ref>ร่างพระราชบัญญัติจะต้องได้รับความเห็นชอบจากสภาผู้แทนราษฎรก่อน แล้วจึงค่อยได้รับความเห็นชอบจากวุฒิสภา
 
=== การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติโดยสภาผู้แทนราษฎร ===
การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติสภาผู้แทนราษฎร จะต้องเป็นการพิจารณาเป็น 3 วาระ ตามลำดับดังนี้:
 
'''<u>วาระที่ 1 ขั้นตอนรับหลักการร่างพระราชบัญญัติ</u>'''
 
การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติในวาระที่ 1 จะลงมติว่าจะรับหลักการร่างพระราชบัญญัติหรือไม่ ผู้เสนอร่างพระราชบัญญัติมีหน้าที่ชี้แจงหลักการและเหตุผลการร่างพระราชบัญญัติ เมื่อผู้เสนอร่างพระราชบัญญัติชี้แจงหลักการและเหตุผลเรียบร้อยแล้ว ให้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรอภิปราย ไม่ว่าจะเป็นการสนับสนุน คัดค้าน หรือตั้งข้อสังเกตุก็ตาม ประธานสภาผู้แทนราษฎรจะให้โอกาสผู้เสนอร่างพระราชบัญญัติในการชี้แจงข้อซักถามหรือข้อสังเกต เมื่อจบการอภิปรายแล้ว ผู้เสนอร่างพระราชบัญญัติจะขอให้ประธานสภาผู้แทนราษฎรขอมติจากที่ประชุมว่าจะรับหลักการนี้หรือไม่ หรือบางกรณี สภาฯ จะให้มีการตั้งคณะกรรมาธิการพิจารณาก่อนรับหลักการร่างพระราชบัญญัตินั้นก็ได้
 
ในกรณีที่ผู้เสนอร่างพระราชบัญญัติเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ศาลหรือองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญหรือผู้มีสิทธิเลือกตั้งจำนวนไม่น้อยกว่าหนึ่งหมื่นคนเข้าชื่อเสนอ ให้คณะรัฐมนตรีรับร่างไปพิจารณาก่อนที่สภาฯจะลงมติรับหลักการก่อนก็ได้ เมื่อครบกำหนดเวลา ประธานสภาผู้แทนราษฎรก็จะสั่งบรรจุร่างพระราชบัญญัติเข้าระเบียบวาระเพื่อการพิจารณา
 
หากสภาผู้แทนราษฎรมีมติไม่รับหลักการ ร่างพระราชบัญญัตินั้นก็ตกไปและจะไม่สามารถพิจารณาร่างพระราชบัญญัติในลักษณะเดียวกันได้อีกในสมัยประชุมนั้นๆ ในทางกลับกัน หากร่างพระราชบัญญัติผ่านวาระที่ 1 จะเข้าสู่วาระที่ 2 ขั้นตอนการพิจารณาโดยคณะกรรมาธิการ
 
'''<u>วาระที่ 2 ขั้นตอนการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติโดยคณะกรรมาธิการ</u>'''
 
การพิจารณาโดยคณะกรรมาธิการ สามารถกระทำได้ 2 ลักษณะดังนี้
 
'''ลักษณะที่ 1 การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติโดยคณะกรรมาธิการเต็มสภา''' --> โดยคณะรัฐมนตรีร้องขอ หรือ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเสนอญัตติโดยมีจำนวนไม่น้อยกว่ายี่สิบคนร้องขอและที่ประชุมลงมติเสียงข้างมากอนุมัติ ให้ถือว่าสภาผู้แทนราษฎรทุกคนทำหน้าที่เป็นกรรมาธิการพิจารณาร่างพระราชบัญญัตินั้น ซึ่งจะใช้สำหรับการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติที่จำเป็นเร่งด่วนหรือร่างพระราชบัญญัติที่ไม่มีรายละเอียดซับซ้อนมากนัก หรือ ไม่ยาวมากเกินไปที่จะพิจารณา โดยเป็นการพิจารณาครั้งเดียวสามวาระ ไม่มีขั้นตอนคำขอแปรญัตติ มีผลเป็นทั้งการพิจารณาเป็นรายมาตราในชั้นกรรมาธิการและเป็นการพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎรนวาระที่สองในคราวเดียวกัน
 
'''ลักษณะที่ 2 การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติโดยคณะกรรมาธิการที่สภาแต่งตั้ง อาจจะเป็นคณะกรรมาธิการสามัญ หรือ คณะกรรมาธิการวิสามัญก็ได้''' --> ในกรณีที่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่ไม่ได้รับแต่งตั้งให้เป็นกรรมาธิการในคณะกรรมาธิการ ชุดนั้นเห็นควรแก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติก็ให้เสนอคำขอ “แปรญัตติ” ต่อประธานคณะกรรมาธิการที่พิจารณาร่างพระราชบัญญัตินั้นภายใน 7 วัน นับแต่วันถัดจากวันที่สภารับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติ เว้นแต่สภาจะได้กำหนดเวลาแปรญัตติสำหรับร่างพระราชบัญญัตินั้นไว้เป็นอย่างอื่น เมื่อคณะกรรมาธิการพิจารณาเสร็จแล้ว จะทำรายงานการพิจารณาของคณะกรรมาธิการเสนอต่อประธานสภา โดยในรายงานจะแสดงร่างเดิม การแก้ไขเพิ่มเติมในมาตราใดบ้าง คำแปรญัตติ การสงวนคำแปรญัตติ หรือการสงวนความเห็นของกรรมาธิการ หากกรณีมีข้อสังเกตที่ควรเสนอแนะต่อคณะรัฐมนตรี ศาล หรือองค์กรตามรัฐธรรมนูญที่ควรทราบหรือควรปฏิบัติก็ให้บันทึกไว้ด้วยเพื่อให้สภาพิจารณา
 
'''<u>วาระที่ 3 ขั้นลงมติเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบร่างพระราชบัญญัติ</u>'''
 
การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติในวาระที่ 3 จะไม่มีการอภิปรายใดๆทั้งสิ้น และจะแก้ไขข้อความอย่างใดมิได้ โดยที่ประชุมจะลงมติว่าเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบ ในกรณีที่สภาผู้แทนราษฎรลงมติไม่ให้ความเห็นชอบ ร่างพระราชบัญญัตินั้นเป็นอันตกไป ถ้าสภาผู้แทนราษฎรมีมติให้ความเห็นชอบ ให้ประธานสภาผู้แทนราษฎรดำเนินการเสนอร่างพระราชบัญญัตินั้นต่อวุฒิสภา
 
=== การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติโดยวุฒิสภา ===
การพิจารณาร่างพระราชบัญญัติโดยวุฒิสภา จะต้องพิจารณาร่างพระราชบัญญัติให้แล้วเสร็จภายใน 60 วัน นับแต่วันที่ได้รับร่างพระราชบัญญัติจากสภาผู้แทนราษฎร หากร่างพระราชบัญญัติมีลักษณะเกี่ยวข้องกับการเงิน จะต้องพิจารณาให้แล้วเสร็จภายใน 30 วัน ทั้งนี้เว้นแต่วุฒิสภาจะมีมติให้ขยายเวลาออกไปเป็นกรณีพิเศษ แต่ต้องไม่เกิน 30 วัน กำหนดเวลาดังกล่าวให้หมายถึงวันในสมัยประชุม และให้เริ่มนับตั้งแต่วันที่ร่างพระราชบัญญัติมาถึงวุฒิสภา หากวุฒิสภาไม่สามารถพิจารณาร่างพระราชบัญญัติให้เสร็จภายในเวลากำหนด ให้ถือว่าวุฒิสภาให้ความเห็นชอบร่างพระราชบัญญัตินั้น กรณ
 
== อ้างอิง ==
[[หมวดหมู่:บ่อเกิดของกฎหมาย]]
<references />{{โครงการเมือง}}