ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระราชบัญญัติ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Yugiboy8701 (คุย | ส่วนร่วม)
แก้ความหมายของ "พระราชบัญญัติ" และ เพิ่มข้อมูลอ้างอิงมากขึ้น
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
{{มุมมองสากล}}
{{กฎหมายไทย}}
'''พระราชบัญญัติ''' (มีตัวย่อว่า '''"พ.ร.บ.) หรือ '''รัฐบัญญัติ"''') ({{lang-en|Statute}})ภาษาอังกฤษ: คือบท[[กฎหมายAct]])เป็นกฎหมายที่ใช้ออกโดยฝ่ายนิติบัญญัติ ซึ่งมีรัฐสภาเป็นฝ่ายที่ออกกฎหมายนี้ <ref>http://kanchanapisek.or.th/kp6/BOOK18/chapter4_s/t18-4-infodetail04.html</ref> พระราชบัญญัติถือว่าเป็นการออกกฎหมายเพื่อบังคับอยู่ใช้เป็นชีวิตประจำตามปกติวัน เพื่อถือเป็นการวางระเบียบบังคับความประพฤติของบุคคลรวมทั้ง องค์กร และ เจ้าหน้าที่ของรัฐ พระราชบัญญัติถือว่าเป็นบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่มีฐานะศักดิ์สูงกว่าบทกฎหมายอื่นประเภทอื่นๆ ๆ นอกจาก[[เป็นรองเพียงกฎหมายรัฐธรรมนูญ]]เท่านั้น ก่อนประกาศใช้บังคับ<ref>https://www.im2market.com/2018/01/28/4699</ref>{{wikisource|รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐}} พระราชบัญญัติมีอยู่ชนิดเดียว แต่บัดนี้รัฐธรรมนูญฯ ได้บัญญัติให้มีพระราชบัญญัติขึ้นอีกชนิดหนึ่ง เรียกว่า “[[พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ]]” ซึ่งรัฐธรรมนูญฯ บังคับให้ตราขึ้นเพื่อกำหนดสาระสำคัญในรายละเอียดในกรณีบางเรื่องที่รัฐธรรมนูญกำหนดหลักการไว้ เช่น พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะกรรมการการเลือกตั้ง [[พ.ศ. 2541]]
 
การตราพระราชบัญญัตินั้นจะทำได้ก็แต่โดยคำแนะนำและยินยอมของรัฐสภา และเมื่อพระมหากษัตริย์ได้ทรงลงพระปรมาภิไธย และประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว ก็มีผลใช้บังคับเป็นกฎหมายได้