ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาหมิ่นใต้"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 18:
== ภาษาหมิ่นใต้ ==
ภาษาหมิ่นใต้ใช้พูดทางใต้ของมณฑลฝูเจี้ยนและทางตะวันออกของ[[มณฑลกวางตุ้ง]] รวมทั้ง[[เกาะไหหลำ]] สำเนียงฮกโลของภาษานี้ถือเป็นภาษาประจำชาติของไต้หวันเรียก[[ภาษาไต้หวัน]] ผู้พูดภาษาหมิ่นใต้มีมากในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ทั้งใน [[ฟิลิปปินส์]] สิงคโปร์ [[มาเลเซีย]] [[อินโดนีเซีย]] และ [[ไทย]] ภาษาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ส่วนหนึ่งมาจากเขตเจ้าซานในกวางตุ้งและพูดภาษาหมิ่นใต้[[สำเนียงแต้จิ๋ว]] นอกจากนี้ภาษาหมิ่นใต้ยังเป็นภาษาแม่ของชาวจีนในฟิลิปปินส์อีกราว 98.5% ซึ่งพูด[[ภาษาลันนัง|สำเนียงลันนัง]] ประเทศไทยพูดกันมากในจังหวัดภูเก็ตและบริเวณโดยรอบ ซึ่งพูดสำเนียง [[Penang Hokkien|ปีนังฮกเกี้ยน]] เป็นสำเนียงที่พูดในปีนัง ซึ่งเดิมเป็นสำเนียงของเมืองฉวนโจว และ เป็นต้นภาษาทำให้เกิด[[ภาษาไทยบ้าบ๋าภูเก็ต]] ซึ่งมีคำยืมในภาษาหมิ่นใต้ (สำเนียงจวนโจว) จำนวนมาก
[[ไฟล์:Map_of_sinitic_languages-en.svg|leftright|thumb| การกระจายตัวของผู้พูดภาษาจีนสำเนียงต่างๆ]]
 
== ความแตกต่างของภาษา ==
บรรทัด 34:
=== [[ภาษาหมิ่นใต้มาตรฐาน|สำเนียงฮกเกี้ยน]] ===
เป็นสำเนียงหลักในภาษาหมิ่นหนาน ยังแตกออกเป็นอีกหลายสำเนียงย่อยในแต่ละท้องถิ่น เป็นภาษาที่พูดกันในบริเวณทางตอนใต้ของมณฑลฮกเกี้ยน
 
* สำเนียงฉวนโจว
** ปีนังฮกเกี้ยน
เส้น 41 ⟶ 40:
** สิงคโปร์ฮกเกี้ยน
** ฮกเกี้ยนถิ่นกัวลาลัมเปอร์
 
* สำเนียงเซียะเหมิน
** ไต้หวันฮกเกี้ยน