ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ตามนุษย์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขของ 171.98.18.171 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย Potapt
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
{{about |ตาของ[[มนุษย์]]|ตาโดยทั่ว ๆ ไป|ตา}}
{{Infobox anatomy
| Name = ตามนุษย์
| GraySubject = 224
| GrayPage = 1000
| Image = Eye-diagram no circles border.svg
| Caption = 1. [[vitreous body|วุ้นตา]] 2. [[ora serrata]] 3. [[กล้ามเนื้อซิลิอารี]] 4. [[Zonule of Zinn]] 5. [[Schlemm's canal]] 6. [[รูม่านตา]] 7. [[Anterior chamber of eyeball|ห้องหน้า]] 8. [[กระจกตา]] 9. [[iris (anatomy)|ม่านตา]] 10. [[lens cortex]] 11. [[lens nucleus]] 12. [[Ciliary processes|ciliary process]] 13. [[เยื่อตา]] 14. [[กล้ามเนื้ออินฟีเรียร์ ออบลีก]] 15. [[กล้ามเนื้ออินฟีเรียร์ เรกตัส]] 16. [[กล้ามเนื้อมีเดียล เรกตัส]] 17. [[จอตา|หลอดเลือดแดงและดำของจอตา]] 18. [[optic disc|จานประสาทตา]] 19. [[เยื่อดูรา]] 20. [[central retinal artery]] 21. [[central retinal vein]] 22. [[เส้นประสาทตา]] 23. [[Vorticose veins|vorticose vein]] 24. [[Tenon's capsule|bulbar sheath]] 25. [[Macula of retina|จุดภาพชัด]] 26. [[รอยบุ๋มจอตา]] 27. [[sclera]] 28. [[choroid]] 29. [[กล้ามเนื้อซุพีเรียร์ เรกตัส]] 30. [[จอตา]]
| MeshName = Eye
| MeshNumber = D005123
}}
<!-- บทอื่น ๆ ที่เปลี่ยนทางมายังบทความนี้:
ตามนุษย์, ตาของมนุษย์
เส้น 17 ⟶ 8:
ช่วยให้เห็นภาพเคลื่อนไหวเป็น 3 มิติ และปกติเห็นเป็นสีในช่วง[[กลางวัน]]
[[เซลล์รูปแท่ง]]และ[[เซลล์รูปกรวย]]ใน[[จอตา]]ทำให้สามารถรับรู้แสงและเห็น รวมทั้งแยกแยะสีและ[[รับรู้ความใกล้ไกล]]
ตามนุษย์สามารถแยกแยะสีได้ประมาณ 10 ล้านสี<ref name="business">{{cite book | first = Deane B. | last = Judd | author2 = Wyszecki, Günter | title = Color in Business, Science and Industry | publisher = Wiley-Interscience | series = Wiley Series in Pure and Applied Optics | edition = third | location = New York | year = 1975 | page = 388 | isbn = 0-471-45212-2}}</ref>
และอาจสามารถตรวจจับ[[โฟตอน]]แม้เพียง[[อนุภาค]]เดียวได้<ref>{{cite web | url = https://www.sciencenews.org/article/human-eye-spots-single-photons | title = Human eye spots single photons | accessdate = 2016-08-02 | last = CONOVER | first = EMILY | date = 2016-07 | work = Science News | volume = 189 }}</ref>
 
เหมือนกับตาของ[[สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม]]ของมนุุษย์​หรือคนอื่น ๆ เซลล์ปมประสาทไวแสง (photosensitive ganglion cell) ในจอตามนุษย์ซึ่งไม่ช่วยให้เห็นภาพ จะได้สัญญาณแสงซึ่งมีผลต่อการปรับขนาดรูม่านตา ควบคุมและระงับการหลั่งฮอร์โมน[[เมลาโทนิน]] และปรับตัวทาง[[สรีรภาพ]]และ[[พฤติกรรม]]ตามจังหวะรอบวัน (circadian rhythm)<ref>{{cite web | url = http://discovermagazine.com/2012/jan-feb/12-the-brain-our-strange-light-detector/article_view?b_start:int=0&-C= | title = Our Strange, Important, Subconscious Light Detectors | accessdate = 2012-05-05 | last = Zimmer | first = Carl | date = 2012-02 | publisher = Discover Magazine }}</ref>
 
== โครงสร้าง ==
เส้น 176 ⟶ 167:
<!--เผื่ออนาคต Main article : [[Optokinetic_response|Optokinetic Response]] -->
[[รีเฟล็กซ์]]แบบ optokinetic reflex/optokinetic nystagmus จะทำให้ภาพบนจอตาเสถียรผ่านกระบวนการป้อนกลับของการเห็น
ซึ่งเกิดเมื่อภาพที่เห็นทั้งหมดเลื่อนข้ามจอตา ทำให้ตาหมุนไปในทางเดียวกันและเร็วพอที่จะลดการเคลื่อนที่ของภาพที่จอตาให้น้อยที่สุด<ref>{{Cite doi |10.1371/journal.pone.0002055}} {{PDFlink |636&nbsp;KB|[http://journals.plos.org/plosone/article/file?id=10.1371/journal.pone.0002055&type=printable Full Article] |636&nbsp;KB}} {{Open access}}<!-- PLoS ONE. 2008; 3(4) : e2055. Published online 2008 Apr 30. PMCID: PMC2323102 The Optokinetic Reflex as a Tool for Quantitative Analyses of Nervous System Function in Mice: Application to Genetic and Drug-Induced Variation Hugh Cahill1,2 and Jeremy Nathans1,2,3,4,* --></ref>
เมื่อสิ่งที่กำลังมองออกนอกการมองเห็นตรง ๆ มากเกินไป ก็จะเกิดการเคลื่อนไหวแบบ saccade ให้กลับมามองที่กลางลานสายตา
ยกตัวอย่างเช่น เมื่อมองนอกหน้าต่างที่รถไฟซึ่งกำลังวิ่งไป ตาสามารถโฟกัสที่รถไฟเคลื่อนที่ได้ระยะสั้น ๆ (โดยทำภาพให้เสถียรที่จอตา) จนกระทั่งรถไฟวิ่งออกนอกขอบเขตการเห็น
เส้น 376 ⟶ 367:
=== โรคจุดภาพชัดเสื่อม (Macular degeneration) ===
<!--เผื่ออนาคต {{บทความหลัก |Macular degeneration}} -->
โรคจุดภาพชัดเสื่อม (Macular degeneration) จะ[[ความชุกของโรค|ชุก]]เป็นพิเศษในสหรัฐอเมริกาโดยมีคนเป็นโรค 1.75 ล้านคนต่อปี<ref>{{Cite doi |10.1001/archopht.122.4.564}}<!-- The Eye Diseases Prevalence Research Group*. Prevalence of Age-Related Macular Degeneration in the United States. "Arch Ophthalmol". 2004;122(4) :564-572. --></ref>
โดยการมีระดับลูทีน (lutein) และ[[ซีอาแซนทิน]]ที่ต่ำในจุดภาพชัด (macula) อาจสัมพันธ์กับความเสี่ยงเพิ่มขึ้นของโรคจุดภาพชัดเสื่อมตามอายุ (age-related macular degeneration, ตัวย่อ AMD)<ref>
{{cite journal | authors = Bone, RA; Landrum, JT; Dixon, Z; Chen, Y; Llerena, CM | year = 2000 | title = Lutein and zeaxanthin in the eyes, serum and diet of human subjects | journal = Experimental Eye Research | volume = 71 | issue = 3 | pages = 239-245 }} </ref><ref>