ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การประท้วงในฮ่องกง พ.ศ. 2562–2563"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
Yugiboy8701 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 12:
* จงหฺวัน {{smaller|(14 มิถุนายน พ.ศ. 2562)}}
และนครอื่น ๆ ทั่วโลก
|causes=- "ร่างรัฐบัญญัติกฎหมายผู้หนีคดีและความช่วยเหลือร่วมกันทางกฎหมายในคดีอาญา (แก้ไขเพิ่มเติม) ค.ศ. 2019" ที่[[รัฐบาลฮ่องกง]]เสนอ
- การใช้ความรุนแรงในการปราบปรามผู้ประท้วงโดยเจ้าหน้าที่ตำรวจฮ่องกง ตั้งแต่วันที่ 12 มิถุนายน ค.ศ.2019
|goals=* ให้ถอนร่างรัฐบัญญัติ
* คัดค้านการส่งผู้ร้ายข้ามแดนกับจีนแผ่นดินใหญ่
* ให้[[หลินแครี่ เจิ้ง เยฺว่เอ๋อลัม]] [[ผู้บริหารสูงสุดของฮ่องกง]] ลาออก
* ให้มีการเลือกตั้งทั่วไปสำหรับสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ และ ผู้บริหารสูงสุดของฮ่องกง
|methods=[[การยึดพื้นที่]], [[การขัดขืนอย่างสงบ]], [[การประท้วงตามท้องถนน]], [[การปฏิบัติการเชิงรุกทางอินเทอร์เน็ต]], [[การหยุดงานหมู่]]
|result=
|concessions=- ร่างรัฐบัญญัติกฎหมายผู้หนีคดีและความช่วยเหลือร่วมกันทางกฎหมายในคดีอาญา ถูกเลื่อนพิจารณาในวันที่ 15 มิถุนายน ค.ศ.2019
|concessions=
- ผู้บริหารสูงสุดของฮ่องกง [[แครี่ ลัม]] ได้ขอโทษต่อสาธารณชน และ ยินยอมถอนการพิจารณาร่างรัฐบัญญัติกฎหมายผู้หนีคดีและความช่วยเหลือร่วมกันทางกฎหมายในคดีอาญา (ประกาศในวันที่ 9 กรกฎาคม ค.ศ.2019)
- ตำรวจฮ่องกงได้ถอนข้อกล่าวหาผู้ประท้วง "บางส่วน" ว่าด้วยการกระทำผิดเกี่ยวกับการจลาจล
|leadfigures3=
|injuries=72 คน<ref>{{cite news|title= Hong Kong extradition: Police fire rubber bullets at protesters |url=https://www.bbc.com/news/world-asia-china-48591001|publisher=BBC |accessdate=12 June 2019|deadurl=no}}</ref> {{smaller|(12 มิถุนายน พ.ศ. 2562)}}
เส้น 35 ⟶ 39:
* [[รัฐบาลจีน]]
* [[พรรคสังคมนิยมจีน]]
|status=ยังดำเนินอยู่|latitude=|longitude=}}
 
'''การประท้วงต่อต้านร่างรัฐบัญญัติส่งผู้ร้ายข้ามแดนฮ่องกง พ.ศ. 2562''' เป็นการเดินขบวนใน[[ฮ่องกง]]และนครอื่น ๆ ทั่วโลกเพื่อเรียกร้องให้ถอน "ร่างรัฐบัญญัติกฎหมายผู้หนีคดีและความช่วยเหลือร่วมกันทางกฎหมายในคดีอาญา (แก้ไขเพิ่มเติม) ค.ศ. 2019" (Fugitive Offenders and Mutual Legal Assistance in Criminal Matters Legislation (Amendment) Bill 2019) ที่[[รัฐบาลฮ่องกง]]เสนอ เพราะเกรงว่า ร่างกฎหมายดังกล่าวจะทำให้ฮ่องกงเปิดรับความครอบงำจาก[[กฎหมายสาธารณรัฐประชาชนจีน|กฎหมายของจีนแผ่นดินใหญ่]] ซึ่งจะทำให้ชาวฮ่องกงตกอยู่ใต้ระบบกฎหมายอื่นที่นอกเหนือไปจากของตน
เส้น 43 ⟶ 47:
แม้มีการเดินขบวนอย่างกว้างขวาง รัฐบาลฮ่องกงยืนยันจะผ่านร่างกฎหมายนี้ให้ได้ โดยกล่าวว่า จำเป็นต้องมีกฎหมายนี้อย่างเร่งด่วน จะได้อุด "ช่องว่าง" ในกฎหมาย<ref>{{Cite web|url=https://news.rthk.hk/rthk/en/component/k2/1455134-20190429.htm?|title=New extradition laws still urgent, says Carrie Lam|publisher=RTHK|access-date=10 June 2019}}</ref> เดิมกำหนดจะพิจารณาวาระที่สองในวันที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2562 แต่เลื่อนออกไปก่อนเพราะการประท้วง<ref>{{Cite news|url=https://www.info.gov.hk/gia/general/201906/12/P2019061200753.htm|title=Council meeting not to be held today|last=|first=|date=2019-06-12|work=HKSAR Government Press Releases|access-date=2019-06-12}}</ref> การประชุมที่กำหนดจะจัดในวันที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2562 ก็เลื่อนเช่นกัน<ref>{{Cite news|url=https://www.info.gov.hk/gia/general/201906/13/P2019061300388.htm|title=Council meeting not to be held today|last=|first=|date=2019-06-13|work=HKSAR Government Press Releases|access-date=2019-06-13}}</ref>
 
วันที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2562 รัฐบาลแครี่ ลัม ผู้บริหารสูงสุดของเกาะฮ่องกงแถลงว่า ได้ให้เลื่อนพิจารณาร่างกฎหมายนี้อย่างไม่มีกำหนด<ref name=":5">{{Cite news|url=https://www.reuters.com/article/us-hongkong-extradition-delay-idUSKCN1TG04S|title=Embattled Hong Kong leader Lam suspends China extradition bill|date=15 June 2019|agency=Reuters|access-date=15 June 2019}}</ref> แต่เน้นย้ำว่า เป็นเพียงเลื่อน ไม่ใช่ถอน<ref>{{cite news|url=https://www.nytimes.com/2019/06/15/world/asia/hong-kong-protests-extradition-law.html|title=Hong Kong's Leader, Yielding to Protests, Suspends Extradition Bill|work=The New York Times|first1=Keith|last1= Bradsher|first2=Alexandra|last2= Stevenson|date=15 June 2019}}</ref> ทำให้มีผู้ฆ่าตัวตายประท้วงที่[[ลานไท่กู่]] (Pacific Place) ในอีกไม่กี่ชั่วโมงต่อมา<ref name=":6" /> ครั้นวันรุ่งขึ้น มีการเดินขบวนใหญ่อีกครั้งเพื่อกดดันให้ถอนร่างกฎหมายและให้ผู้บริหารฮ่องกงลาออกจากตำแหน่ง<ref>{{Cite news|url=https://www.reuters.com/article/us-hongkong-extradition-idUSKCN1TH00P|title=Hundreds dressed in black rally to demand Hong Kong leader steps down|date=16 June 2019|agency=Reuters|access-date=16 June 2019}}</ref><ref>{{cite web|url=https://www.youtube.com/watch?v=PCyrJTmUpNQ|title=DRONE OVER HONG KONG PROTESTS|last=Team BlackSheep|date=15 June 2019|via=YouTube}}</ref> ซึ่งในเวลาต่อมา วันที่ 9 กรกฎาคม รัฐบาลฮ่องกงได้ถอนร่างกฎหมายดังกล่าวออกจากการพิจารณาของสภานิติบัญญัติอย่างถาวร
 
ในวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2562 ซึ่งตรงกับวันครบรอบ 22 ปี การส่งคืนเกาะฮ่องกงจากบริเตน มีผู้ประท้วงมากกว่า 190,000 คน (จากข้อมูลผู้ประท้วง มีผู้เข้าร่วมมากกว่า 550,000 คน) เข้าร่วมการประท้วงเพื่อเรียกร้องประชาธิปไตย <ref>https://graphics.reuters.com/HONGKONG-EXTRADITION-CROWDSIZE/0100B05W0BE/index.html</ref> มีผู้ประท้วงบางส่วนได้บุกรุกเข้าไปในที่ทำการสภานิติบัญญัติ มีการทำลายทรัพย์สิน และ วางธงอาณานิคมของประเทศบริเตนไว้บนแท่นบังลังก์ของประธานสภานิติบัญญัติด้วย <ref>https://www.hongkongfp.com/2019/07/01/breaking-hong-kong-protesters-storm-legislature-breaking-glass-doors-prying-gates-open/</ref>
 
ในวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ.2562 เวลา 23.00 น. ตำรวจฮ่องกงประกาศเตือน จะมีการยกระดับการใช้กำลัง แต่ผู้ประท้วงส่วนใหญ่ยังคงปักหลักอยู่ในอาคารสภานิติบัญญัติ ทำให้วันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ.2562 เวลา 00.01 น. ตำรวจฮ่องกงตัดสินใจระดมยิงแก๊สน้ำตาบริเวณรอบที่ทำการสภานิติบัญญัติเพื่อสลายการชุมนุม ภายในเวลา 01.00 น. ตำรวจฮ่องกง สามารถยึดที่ทำการสภานิติบัญญัติได้สำเร็จ มีผู้บาดเจ็บจากการสลายการชุมนุมประมาณ 50 คน <ref>https://workpointnews.com/2019/07/02/hongkong-1july-nutshell/</ref><ref>https://www.thebangkokinsight.com/160265/</ref>
 
==ภูมิหลัง==
เส้น 50 ⟶ 58:
 
ในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 รัฐบาลฮ่องกงเสนอ "ร่างรัฐบัญญัติกฎหมายผู้หนีคดีและความช่วยเหลือร่วมกันทางกฎหมายในคดีอาญา (แก้ไขเพิ่มเติม) ค.ศ. 2019" เพื่อแก้ไขเพิ่มเติม "รัฐกำหนดผู้หนีคดี" (Fugitive Offenders Ordinance<!-- 逃犯條例 -->: Cap. 503) ในประเด็นเกี่ยวกับการจัดให้มีการมอบตัวเป็นกรณีพิเศษ (special surrender arrangements) และแก้ไขเพิ่มเติม "รัฐกำหนดความช่วยเหลือร่วมกันทางกฎหมายในคดีอาญา" (Mutual Legal Assistance in Criminal Matters Ordinance: Cap. 525) เพื่อที่ฮ่องกงจะสามารถจัดให้มีความช่วยเหลือร่วมกันทางกฎหมายกับสถานที่ใด ๆ ภายนอกฮ่องกง<ref>{{cite news|url=https://www.legco.gov.hk/yr18-19/english/hc/papers/hc20190412ls-65-e.pdf|title=Legal Service Division Report on Fugitive Offenders and Mutual Legal Assistance in Criminal Matters Legislation (Amendment) Bill 2019|last=Tso|first=Timothy|work=Legislative Council of Hong Kong}}</ref> การเสนอร่างกฎหมายดังกล่าวเพื่อให้ฮ่องกงสามารถขอให้ไต้หวันมอบตัวชายผู้ต้องสงสัยฆ่าคนในไต้หวัน แต่กลไกที่ร่างขึ้นมิใช่เพื่อกรณีไต้หวันเท่านั้น ยังสามารถใช้แก่จีนแผ่นดินใหญ่และมาเก๊าได้ด้วยซึ่งเป็นกรณีที่ยังไม่อยู่ในขอบเขตของกฎหมายปัจจุบัน<ref>{{Cite news|url=https://www.bbc.com/news/world-asia-china-47810723|title=Fears over Hong Kong-China extradition plans|date=8 April 2019|publisher=BBC}}</ref>
 
== จุดประสงค์ ==
ในช่วงแรกของการประท้วง ผู้ชุมนุมต้องการให้รัฐบาลถอนร่างรัฐบัญญัติกฎหมายผู้หนีคดีและความช่วยเหลือร่วมกันทางกฎหมายในคดีอาญา ออกจากสภานิติบัญญัติ ทว่ารัฐบาลกลับใช้กำลังเจ้าหน้าที่ตำรวจฮ่องกง ในการปราบปรามผู้ชุมนุมอย่างรุนแรงในวันที่ 12 มิถุนายน มากไปกว่านั้น ในวันที่ 15 มิถุนายน รัฐบาลประกาศเพียงแต่ "เลื่อนการพิจารณา" ร่างรัฐบัญญัติดังกล่าว ทำให้ตั้งแต่วันที่ 15 มิถุนายน ผู้ชุมนุมระดับการชุมนุม ตามจุดประสงค์ดังนี้:
 
# '''ให้ถอนร่างรัฐบัญญัติกฎหมายผู้หนีคดีและความช่วยเหลือร่วมกันทางกฎหมายในคดีอาญา''' - การเลื่อนการพิจารณากฎหมาย อาจจะทำให้สภานิติบัญญัติสามารนำกลับมาพิจารณาได้อีกครั้งในสมัยประชุมเดียวกัน ซึ่งจะสามารถทำให้ประกาศใช้ให้เป็นกฎหมายได้ภายในไม่กี่วัน หากการชุมนุมได้ลดระดับลง ในทางกลับกัน หากถอนร่างรัฐบัญญัติดังกล่าว จะไม่สามารถทำให้นำกลับมาพิจารณาได้อีกในสมัยประชุมเดียวกัน และ หากจะเสนอกฎหมายอีกครั้ง จะต้องนับหนึ่งใหม่ทั้งหมด ซึ่งมีเวลามากพอ ที่จะทำให้เกิดการประท้วงได้อีก
# '''ต้องการให้นางแครี่ ลัม ลาออกจากตำแหน่งผู้บริหารสูงสุด และ จัดให้มีการเลือกตั้งทั่วไป''' - เนื่องจากว่านางแครี่ ลัม ได้ใช้กฎหมายในการปราบปรามผู้ชุมนุมอย่างรุนแรงและไม่เป็นไปตามระบอบประชาธิปไตย ทำให้ผู้ชุมนุมตัดสินใจต้องการให้นางแครี่ ลัม ลาออกจากตำแหน่งผู้บริหารสูงสุดเกาะฮ่องกง และ จัดให้มีการเลือกตั้งทั่วไปใหม่ทันที
# '''สอบสวนการใช้กำลังเกินกว่าเหตุของตำรวจฮ่องกง โดยองค์กรอิสระ''' - เนื่องจากว่าในวันที่ 12 มิถุนายน ค.ศ.2019 ตำรวจฮ่องกงได้ใช้กำลังรุนแรง "เกินกว่าเหตุ" ต่อผู้ชุมนุม แถมยังใช้อำนาจในทางมิชอบ ในการตรวจร่างกายประชาชนฮ่อง และ เคหะสถาน ทั้งๆที่ประชาชนเหล่านั้นมิได้มีส่วนเกี่ยวข้องการชุมนุมใดๆ <ref>https://www.rfa.org/english/news/china/search-06112019114440.html</ref>
# '''ถอนข้อหา "การก่อจลาจล" ต่อผู้ชุมนุมทั้งหมด''' - รัฐบาลกล่าวหาว่าผู้ชุมนุมเป็นผู้ก่อ "จลาจล" ในวันที่ 12 มิถุนายน ค.ศ.2019 ซึ่งในเวลาต่อมา รัฐบาลเปลี่ยนเป็นการใช้คำว่า "ผู้ชุมนุมบางส่วน" แต่ทว่า ผู้ชุมนุมกลับประท้วงว่า การประท้วงในวันที่ 12 มิถุนายน ค.ศ.2019 มิใช่เป็นการกระทำเกี่ยวกับการก่อจลาจลแต่อย่างใด
# '''ปล่อยตัวผู้ชุมนุมที่ถูกจับกุม "โดยไม่มีเงื่อนไข"''' - การจับกุมผู้ชุมนุมถือว่าเป็นการจับกุมโดย "เหตุผลทางการเมือง" มิใช่การก่ออาชญากรรมแต่อย่างใด มากไปกว่านั้น ยังมีการบุกรุกโรงพยาบาลที่ผู้ชุมนุมเข้าไปรับการรักษา โดยเหตุการณ์ดังกล่าวถือว่าเป็นการละเมิดสิทธิ์ส่วนตัวในการรักษาและมีการละเมิดจารกรรมข้อมูลของผู้ชุมนุมด้วย ซึ่งเป็นการตั้งข้อสงสัยการใช้กฎหมายของตำรวจฮ่องกง ว่าถูกต้องตามหลักนิติธรรมหรือเกินกว่าเหตุหรือไม่
 
==การประท้วงในวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2562==