ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การตั้งครรภ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Unyana (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มข้อมูลเรื่องอาหารสำหรับอาการแพ้ท้อง
Dolkungbighead (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 7953285 สร้างโดย Unyana (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 171:
ความสมดุลของอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการเป็นสิ่งสำคัญของการตั้งครรภ์ที่มีสุขภาพดี. การรับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ ก็คือมีการรับประทานที่สมดุลกันทั้ง[[carbohydrates|คาร์โบไฮเดรต]] ไขมันและ[[proteins|โปรตีน]] มีการรับประทานอาหารที่มีความหลากหลายของผักและผลไม้มักจะช่วยให้เกิดภาวะโภชนาการที่ดี ผู้ที่ได้รับอาหารจนเกิดผลกระทบเป็นปัญหาสุขภาพผลจากความต้องการทางศาสนาหรือความเชื่อทางจริยธรรมมีความจำเป็นที่จะต้องปรึกษามืออาชีพหรือนักโภชนาการด้านสุขภาพสำหรับที่จะให้คำแนะนำที่จำเป็นเฉพาะด้านสำหรับเรื่องการตั้งครรภ์
 
หญิงตั้งครรภ์ควรได้รับ[[folic acid|กรดโฟลิค]](หรือเรียกว่าโฟเลตหรือวิตามินบี 9)ในปริมาณที่เพียงพอเพื่อจะช่วยลดความเสี่ยงของทารกในครรภ์ที่จะบกพร่องท่อประสาท ตัวอย่างเช่น [[spina bifida]] ซึ่งเป็นความบกพร่องของกระดูกไขสันหลัง, ข้อบกพร่องร้ายแรงที่จะเกิดขึ้นตอนทารกเกิด([[birth defect]])  &nbsp;Neural tube เป็นโครงสร้างที่มีลักษณะเป็นหลอดยาวไปตามแนวสันหลังในระยะเอ็มบริโอส่วนหน้าเจริญไปเป็นสมอง ส่วนหลังเจริญไปเป็นไขสันหลัง ซึ่งส่วนนี้จะถูกพัฒนา 28 วันแรกของการการตั้งครรภ์ สิ่งที่อธิบายมาทั้งหมดนี้เพื่อให้เห็นถึงความจำเป็นในการได้รับกรดโฟลิคในปริมาณที่เพียงพอ<ref name="pmid16303691">{{cite journal |author=Klusmann A, Heinrich B, Stöpler H, Gärtner J, Mayatepek E, Von Kries R |title=A decreasing rate of neural tube defects following the recommendations for periconceptional folic acid supplementation |journal=Acta Paediatr. |volume=94 |issue=11 |pages=1538–42 |year=2005 |pmid=16303691 |doi=10.1080/08035250500340396 |url=http://www.blackwell-synergy.com/openurl?genre=article&sid=nlm:pubmed&issn=0803-5253&date=2005&volume=94&issue=11&spage=1538 |accessdate=20 January 2008}}</ref><ref name="pmid11015508">{{cite journal |author=Stevenson RE, Allen WP, Pai GS, Best R, Seaver LH, Dean J, Thompson S |title=Decline in prevalence of neural tube defects in a high-risk region of the United States |journal=Pediatrics |volume=106 |issue=4 |pages=677–83 |year=2000 |pmid=11015508 |doi=10.1542/peds.106.4.677}}</ref> โฟเลต (มาจาก ''folia'', ใบไม้) ซึ่งมีมากใน[[spinach|ผักโขม]] (ทั้งสด,แช่เข็งหรือแบบบรรจุกระป๋อง) และสามารถพบได้ใน[[green vegetables|ผักใบเขียว]] เช่น สลัด,หัวผักกาด,บร็อคโคลี่ หน่อไม้ฝรั่ง และในผลไม้เช่นมะนาวและแตงโม ถั่วชิกพี(chickpeas จะอยู่ในรูปของ[[hummus|ครีม]]หรือ[[falafel]]) และ[[Egg (food)|ไข่]] ในประเทศสหรัฐอเมริกาและแคนาดาส่วนใหญ่ผลิตภัณฑ์ข้าวสาลี (แป้งก๋วยเตี๋ยว) จะเสริมด้วยกรดโฟลิค<ref name="pmid18185493">{{cite journal |title=Use of supplements containing folic acid among women of childbearing age—United States, 2007 |journal=MMWR Morb. Mortal. Wkly. Rep. |volume=57 |issue=1 |pages=5–8 |year=2008 |pmid=18185493 |author1= Centers for Disease Control and Prevention (CDC)}}</ref>
 
[[Docosahexaenoic acid|DHA mega-3]] เป็นกรดไขมันที่สำคัญของโครงสร้างในสมองและจอประสาทตา และสามารถพบได้ตามธรรมชาติในนมแม่ DHA เป็นสิ่งสำคัญและจำเป็นสำหรับผู้หญิงตั้งครรภ์ที่ควรได้รับปริมาณที่เพียงพอและเหมาะสมในระหว่างตั้งครรภ์ และพยาบาลก็ให้การดูแลโภชนาการที่ดีของหญิงตั้งครรภ์และสุขภาพของทารกในครรภ์ เด็กทารกที่กำลังพัฒนาไม่สามารถผลิต DHAได้ดีจึงมีจำเป็นที่จะต้องได้รับสารอาหารที่สำคัญนี้จากแม่ผ่านทางรกในระหว่างตั้งครรภ์และในนมแม่หลังคลอด<ref name="pmid11724467">{{cite journal | author = Salem N, Litman B, Kim HY, Gawrisch K | title = Mechanisms of action of docosahexaenoic acid in the nervous system | journal = Lipids | volume = 36 | issue = 9 | pages = 945–59 | date = September 2001 | pmid = 11724467 | doi = 10.1007/s11745-001-0805-6 }}</ref>
 
[[micronutrients|แร่ธาตุสารอาหาร]]ที่หลากหลายมีความสำคัญมากต่อสุขภาพและพัฒนาการของทารก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในภูมิภาคของโลกที่ยังมีโภชนาการที่ไม่ดีนัก.<ref name="pmid17054223">{{cite journal |author=Haider BA, Bhutta ZA |title=Multiple-micronutrient supplementation for women during pregnancy |journal=Cochrane Database Syst Rev |issue=4 |pages=CD004905 |year=2006 |pmid=17054223 |doi=10.1002/14651858.CD004905.pub2 |editor1-last=Bhutta |editor1-first=Zulfiqar A}}</ref> ในส่วนพื้นที่ที่พัฒนาแล้ว เช่น ประเทศโซนยุโรปตะวันตกและในสหรัฐอเมริกา สารอาหารบางอย่างเช่น [[Vitamin D|วิตามินดี]]และ[[calcium|แคลเซียม]] ที่มีความจำเป็นสำหรับการพัฒนากระดูกอาจต้องใช้จากอาหารเสริม <ref name="pmid17476978">{{cite journal |author=Theobald HE |title=Eating for pregnancy and breast-feeding |journal=J Fam Health Care |volume=17 |issue=2 |pages=45–9 |year=2007 |pmid=17476978 }}</ref><ref name="pmid17625571">{{cite journal |author=Basile LA, Taylor SN, Wagner CL, Quinones L, Hollis BW |title=Neonatal vitamin D status at birth at latitude 32 degrees 72': evidence of deficiency |journal=J Perinatol |volume=27 |issue=9 |pages=568–71 |year=2007 |pmid=17625571 |doi=10.1038/sj.jp.7211796}}</ref><ref name="pmid3488981">{{cite journal |author=Kuoppala T, Tuimala R, Parviainen M, Koskinen T, Ala-Houhala M |title=Serum levels of vitamin D metabolites, calcium, phosphorus, magnesium and alkaline phosphatase in Finnish women throughout pregnancy and in cord serum at delivery |journal=Hum Nutr Clin Nutr |volume=40 |issue=4 |pages=287–93 |year=1986 |pmid=3488981 }}</ref>
 
หากมีอาการแพ้ท้องมาก<ref><nowiki>https://www.meadjohnsonni.com/th/โภชนาการลูก/คุณแม่ตั้งครรภ์/โภชนาการคุณแม่ตั้งครรภ์</nowiki> </ref> ต้องดูแลอาหารการกินเป็นพิเศษ  เพราะอาจมีการสูญเสียน้ำและสารอาหารได้ จึงควรรับประทานอาหารอ่อนๆ ที่ย่อยง่าย ไม่คาว ไม่มัน มีกลิ่นน้อยๆ มีโปรตีนสูง เช่น ข้าวต้ม หรือโจ๊กหมูหรือไก่  และควรรับประทานผลไม้สด เป็นอาหารว่าง ช่วงนี้ทารกในครรภ์ยังมีขนาดเล็กมาก สารอาหารที่ร่างกายคุณแม่มีสะสมมาแต่เดิมก็อาจมีเพียงพอในช่วงแรกๆ เมื่อหายจากอาหารแพ้ท้อง คุณแม่ก็มาเน้นอาหารเพื่อบำรุงลูกในท้องต่อไป
 
 หากไม่มีอาการแพ้ท้องมากนัก คุณแม่ก็สามารถรับประทานอาหารได้ตามปกติ  คือครบ 5 หมู่ แต่อาจเพิ่มโปรตีน ผักผลไม้ขึ้นกว่าเดิม เพราะทารกในครรภ์จำเป็นต้องใช้วิตามินบีสูงในการสร้างระบบประสาทที่พัฒนาอย่างรวดเร็วในช่วงไตรมาสแรก  ช่วงนี้น้ำหนักของคุณแม่อาจยังไม่เพิ่ม เพราะทารกในครรภ์ยังเจริญเติบโตไม่มาก ควรหลีกเลี่ยงอาหารประเภทแป้ง ขนมหวาน และไขมัน เพราะจะทำให้อ้วนได้ง่าย น้ำหนักที่เพิ่มจะไปอยู่ที่ตัวคุณแม่มากกว่าลูก ที่สำคัญ ลูกไม่ได้รับสารอาหารอย่างที่ควรจะเป็นค่ะs
 
แบคทีเรียที่เป็นอันตรายหรือพยาธิอาจปนเปื้อนอาหาร รวมถึง ลิสทีเรีย(''[[Listeria]] ''ที่เป็นแบคทีเรียที่เป็นสาเหตุทำให้อาหารเน่าเสีย'') และ'' โรคท็อกโซพลาสโมซิส(''[[Toxoplasma gondii]] ''ซึ่งเป็นปาราสิตชนิดหนึ่ง ซึ่งเกิดในแมวและสัตว์เลือดอุ่นอื่นๆ เชื้อนี้จะเจริญในผนังลำไส้ของลำไส้เล็ก) ควรระมัดระวังในการล้างผลไม้และผักให้สะอาดที่สุดเพื่อที่จะให้เชื้อโรคเหล่านี้หมดออกไปจากการปนเปื้อนในอาหารและควรมีความรอบคอบในการปรุงอาหารที่มาจากเนื้อสัตว์ที่เหลือหรือเนื้อสัตว์แปรรูป. ชีสอ่อนอาจมีลิสทีเรีย ถ้าในนมดิบอาจจะมีความเสี่ยงที่เพิ่มขึ้น. อุจจาระแมวมีความเสี่ยงโดยเฉพาะอย่างยิ่งของโรคท็อกโซพลาสโมชิสถ้ามีการสัมผัสกับอุจจาระแล้วล้างมือไม่สะอาดจะมีความเสี่ยงกับกลุ่มผู้หญิงที่กำลังตั้งท้อง เพราะหากเชื้อนี้เข้าสู่ร่างกายของคุณแม่แล้ว จะส่งต่อไปยังลูกน้อยในท้องผ่านทางรกได้ อาจเป็นสาเหตุทำให้แท้งลูก หรืออาจทำให้ลูกที่คลอดออกมาเกิดความผิดปกติทางร่างกายได้ เช่น หูหนวก ตาบอด มีอาการทางระบบประสาท ปัญญาอ่อน ฯลฯ หญิงตั้งครรภ์นี้ยังมีแนวโน้มที่จะได้รับเชื้อ ''[[Salmonella]] ''ซึงเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดอาหารเป็นพิษ ติดเชื้อจากไข่และสัตว์ปีก ซึ่งควรจะปรุงอาหารให้สุก การสร้างสุขอนามัยที่ดีในห้องครัวสามารถลดความเสี่ยงเหล่านี้ได้<ref name="Tarlow">{{cite journal|last=Tarlow|first=MJ|title=Epidemiology of neonatal infections|journal=The Journal of antimicrobial chemotherapy|date=August 1994|volume=34 Suppl A|pages=43–52|pmid=7844073}}</ref>
เส้น 329 ⟶ 325:
* [http://www.merckmanuals.com/home/womens_health_issues/pregnancy_complicated_by_disease/overview_of_disease_during_pregnancy.html Merck Manual Home Health Handbook] – further details on the diseases, disorders, etc., which may complicate pregnancy.
* [http://www.nhs.uk/Planners/pregnancycareplanner/Pages/PregnancyHome.aspx Pregnancy care planner] – NHS guide to having baby including preconception, pregnancy, labor, and birth.
*[https://www.meadjohnsonni.com/th/โภชนาการลูก/คุณแม่ตั้งครรภ์/โภชนาการคุณแม่ตั้งครรภ์ อาหารสำหรับคนท้อง]
 
{{Pregnancy}}