ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประวัติศาสตร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
มีคนมาเกรียนคำพูดอีก
บรรทัด 17:
นักปรัชญาประวัติศาสตร์ที่มีชื่อเสียงให้คำอธิบายถึงคำว่า "ประวัติศาสตร์" ไว้ เช่น
 
[[อาร์. จี. คอลลิงวูด]] (R. G. Collingwood) อธิบายว่าประวัติศาสตร์คือวิธีการวิจัยหรือการไต่ส..ว...น ...ไต่สวน โดยมีจุดมุ่งหมายจะศึกษาเกี่ยวกับ ... พฤติการณ์ของมนุษยชาติที่เกิดขึ้นในอดีต
 
[[อี. เอช. คาร์]] (E. H. Carr) อธิบายว่าประวัติศาสตร์นั้นก็คือกระบวนการอันต่อเนื่องของการปฏิสัมพันธ์ระหว่างนักประวัติศาสตร์กับข้อมูลของเขา ประวัติศาสตร์คือบทสนทนาอันไม่มีที่สิ้นสุดระหว่างปัจจุบันกับอดีต<ref>ดู คาร์, อี.เอช. (2531). '''ประวัติสาสตร์คืออะไร.''' แปลโดย ชาติชาย พณานานนท์. (พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์). หน้า 22.</ref> (a continuous process of interaction between the present and the past.)
บรรทัด 85:
== การเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์ระดับอุดมศึกษาในประเทศไทย ==
{{มุมมองสากล}}
ด่ด่ด่ด่ด่ด่ด่ด่ด่ด่ด่ดเมื่อเมื่อ[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ทรงสถาปนาโรงเรียนข้าราชการพลเรือนเป็น[[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]]ใน [[พ.ศ. 2459]] มีการจัดการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์ขึ้นเป็นวิชาความรู้พื้นฐานสำหรับนิสิตในคณะต่าง ๆ (นโยบายนี้ยังปรากฏในหลักสูตรของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมือง ([[มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]]ในปัจจุบัน) ซึ่งเปิดสอนใน [[พ.ศ. 2477]] ด้วย) ต่อมา ในปลายปี [[พ.ศ. 2466]] เมื่อ[[สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก|สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากรมขุนสงขลานครินทร์]]ทรงดำรงตำแหน่งอธิบดีกรมมหาวิทยาลัย ทรงดำเนินการปรับปรุงคณะแพทยศาสตร์และคณะอักษรศาสตร์และวิทยาศาสตร์ [[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] ทรงจัดหลักสูตรสำหรับวิชาประวัติศาสตร์ด้วยพระองค์เอง โดยทูลเชิญและเชิญผู้ที่มีความรู้เฉพาะทางมาปาฐกถา เช่น [[สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ]]ทรงบรรยาย[[ประวัติศาสตร์ไทย]] และ[[พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าธานีนิวัติ กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร|พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าธานีนิวัติ]]ทรงบรรยายอิทธิพลของวัฒนธรรม[[อินเดีย]]ต่อวัฒนธรรม[[ไทย]] เป็นต้น
 
หลัง[[สงครามโลกครั้งที่ 2]] มหาวิทยาลัยในประเทศไทยจึงเปิดการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์เป็นวิชาเอกในระดับ[[ปริญญาตรี]]และ[[ปริญญาโท]] โดยก่อน [[พ.ศ. 2516]] มีสถาบันอุดมศึกษาเพียง 2 แห่งที่เปิดสอนวิชาประวัติศาสตร์ในระดับปริญญาโท คือ [[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] และวิทยาลัยวิชาการศึกษาประสานมิตร ([[มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ]]ในปัจจุบัน)