ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณสังวร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Weetaeza (คุย | ส่วนร่วม)
แก้ไขพระนาม
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Subhibhat (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 55:
พ.ศ. 2515 พระองค์ได้รับพระราชทานสถาปนาเป็นสมเด็จพระราชาคณะที่ '''[[สมเด็จพระญาณสังวร]]''' ซึ่งเป็นราชทินนามที่[[พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย]]โปรดให้ตั้งขึ้นใหม่สำหรับพระราชทานสถาปนา[[สมเด็จพระอริยวงษญาณ สมเด็จพระสังฆราช (สุก ญาณสังวร)]] พระราชาคณะฝ่าย[[วิปัสสนาธุระ]]เป็นครั้งแรก เมื่อ พ.ศ. 2359 ตำแหน่งสมเด็จพระราชาคณะที่สมเด็จพระญาณสังวร จึงเป็นตำแหน่งพิเศษที่โปรดพระราชทานสถาปนาแก่พระเถระผู้ทรงคุณทางวิปัสสนาธุระเท่านั้น<ref name="หน้า5"/>
 
เมื่อ[[สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณสังฆราชเจ้า กรมหลวงชินวราลงกรณ|สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงชินวราลงกรณ (วาสน์ วาสโน)]] สิ้นพระชนม์ในปี พ.ศ. 2531 ทำให้ตำแหน่งสมเด็จพระสังฆราชว่างลง พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชจึงมีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ สถาปนาพระองค์ขึ้นเป็น[[สมเด็จพระสังฆราช|สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก]] ในราชทินนามเดิม คือ '''สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก''' ซึ่งราชทินนามดังกล่าวนับเป็นราชทินนามพิเศษ กล่าวคือ สมเด็จพระสังฆราชที่มิได้เป็นพระบรมวงศานุวงศ์นั้น โดยปกติจะใช้ราชทินนามว่า ''[[สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ]]'' บางพระองค์ ครั้งนี้จึงนับเป็นอีกหนึ่งครั้งมีการใช้ราชทินนาม ''สมเด็จพระญาณสังวร'' สำหรับสมเด็จพระสังฆราชเพื่อเป็นพระเกียรติคุณทางวิปัสสนาธุระของพระองค์<ref name="หน้า5"/> (ในพระนามใช้ราชทินนาม สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ)
 
=== ผู้ปฏิบัติหน้าที่แทนสมเด็จพระสังฆราช ===