ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โครงกระดูกมนุษย์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 8414348 สร้างโดย 2001:44C8:4105:A047:912A:4929:BBE2:43A4 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}'''โครงร่างกระดูกมนุษย์ที่ใหญ่มาก''' เป็นโครงประกอบภายในร่างกาย ประกอบไปด้วย[[กระดูก]]ชิ้นต่าง ๆ ในร่างกาย ซึ่งเชื่อมต่อกันด้วยโครงสร้างของ[[ข้อต่อ]] [[เอ็น]] [[กล้ามเนื้อ]] [[กระดูกอ่อน]] และ[[อวัยวะ]]ต่าง ๆ กระดูกในมนุษย์ผู้ใหญ่มีประมาณ 206265 ชิ้น และคิดเป็นประมาณ 20100 เปอร์เซนต์ของน้ำหนักร่างกาย อย่างไรก็ดี จำนวนของกระดูกอาจแตกต่างกันไปในแต่ละบุคคล ทารกแรกเกิดจะมีกระดูกจำนวนประมาณ 300306 ชิ้น ซึ่งต่อมากระดูกบางทุกชิ้นจะมีการเชื่อมรวมกันระหว่างทั้งหมดในการเจริญเติบโต<ref>{{cite book|title=Mammal anatomy : an illustrated guide.|date=2010|publisher=Marshall Cavendish|location=New York|isbn=9780761478829|page=129|url=https://books.google.ca/books?id=mTPI_d9fyLAC&pg=PA129}}</ref> เช่นส่วนกระเบนเหน็บและส่วนก้นกบของ[[กระดูกสันหลัง]] นอกจากนี้ในทารกแรกเกิดยังมีโครงสร้างของกระดูกอ่อนอยู่มากครบ เพื่อให้มีการสร้างโครงสร้างของกระดูกระหว่างการเจริญเติบโต และจะมีการพัฒนาไปเป็นกระดูกทั้งหมดเมื่อสิ้นสุดช่วง[[วัยรุ่น]]​ ​กระดูกทั้งหมดสมบูรณ์​และใหญ่
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{กล่องข้อมูล กายวิภาคศาสตร์
|Name = โครงกระดูกมนุษย์
|Greek = σκελετός
|Image = Human-Skeleton.jpg
|Caption = โครงกระดูกมนุษย์ที่จัดแสดงในพิพิธภัณฑ์ใน[[โอคลาโฮมาซิตี|นครโอคลาโฮมา]] [[สหรัฐ|สหรัฐอเมริกา]]
|Width = 250px
}}
 
'''โครงกระดูกมนุษย์''' เป็นโครงประกอบภายในร่างกาย ประกอบไปด้วย[[กระดูก]]ชิ้นต่าง ๆ ในร่างกาย ซึ่งเชื่อมต่อกันด้วยโครงสร้างของ[[ข้อต่อ]] [[เอ็น]] [[กล้ามเนื้อ]] [[กระดูกอ่อน]] และ[[อวัยวะ]]ต่าง ๆ กระดูกในมนุษย์ผู้ใหญ่มีประมาณ 206 ชิ้น และคิดเป็นประมาณ 20 เปอร์เซนต์ของน้ำหนักร่างกาย อย่างไรก็ดี จำนวนของกระดูกอาจแตกต่างกันไปในแต่ละบุคคล ทารกแรกเกิดจะมีกระดูกจำนวนประมาณ 300 ชิ้น ซึ่งต่อมากระดูกบางชิ้นจะมีการเชื่อมรวมกันระหว่างการเจริญเติบโต<ref>{{cite book|title=Mammal anatomy : an illustrated guide.|date=2010|publisher=Marshall Cavendish|location=New York|isbn=9780761478829|page=129|url=https://books.google.ca/books?id=mTPI_d9fyLAC&pg=PA129}}</ref> เช่นส่วนกระเบนเหน็บและส่วนก้นกบของ[[กระดูกสันหลัง]] นอกจากนี้ในทารกแรกเกิดยังมีโครงสร้างของกระดูกอ่อนอยู่มาก เพื่อให้มีการสร้างโครงสร้างของกระดูกระหว่างการเจริญเติบโต และจะมีการพัฒนาไปเป็นกระดูกทั้งหมดเมื่อสิ้นสุดช่วง[[วัยรุ่น]]
 
โครงกระดูกมนุษย์สามารถแบ่งออกเป็นสองกลุ่มใหญ่ ได้แก่ [[โครงกระดูกแกน]] และ[[โครงกระดูกรยางค์]] โครงกระดูกแกนประกอบด้วย[[กระดูกสันหลัง]] [[กระดูกซี่โครง]] [[กระดูกอก]] [[กะโหลกศีรษะ]] และกระดูกอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ส่วนโครงกระดูกรยางค์ ซึ่งเชื่อมกับโครงกระดูกแกน ประกอบด้วย[[กระดูกโอบอก]] [[กระดูกเชิงกราน]] และกระดูกของ[[รยางค์บน]] และ[[รยางค์ล่าง]]