ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วัลคาไนเซชัน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
AlphamaBot (คุย | ส่วนร่วม)
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับปรุงบางส่วน
บรรทัด 1:
{{รอการตรวจสอบ}}
|[[Fileไฟล์:Vulcanisation.GIF|thumb|left|500400px|กระบวนการวัลคาไนเซชัน]]
'''วัลคาไนเซชัน''' (Vulcanization{{lang-en|vulcanization}}) คือ การที่[[ยาง]]ทำปฏิกิริยากับ[[กำมะถัน]]ในปริมาณที่พอเหมาะที่อุณหภูมิสูงกว่าจุดหลอมเหลวของกำมะถัน โดยกำมะถันที่นำมาทำปฏิกิริยาด้วยนี้จะสร้าง[[พันธะโคเวเลนต์]]เชื่อมระหว่างโซ่[[พอลิเมอร์]]ให้เป็นโมเลกุลเดียวกัน ทำให้ยางมีคุณภาพคงตัวในอุณหภูมิต่างๆต่าง ๆ มีความยืดหยุ่นได้ดีมากขึ้น ทนความร้อนและ[[แสงแดด]] ละลายในตัวทำละลายได้ยากขึ้น เช่น ปกติ[[ยางธรรมชาติ]]เมื่อได้รับความร้อนจะเหนียวและอ่อนตัว แต่เมื่ออุณหภูมิต่ำลงจะแข็งและเปราะ ฉะนั้นจึงต้องปรับคุณภาพของ[[ยางธรรมชาติ]] ก่อนนำมาใช้ประโยชน์ ปฏิกิริยานี้ถูกค้นพบโดยบังเอิญโดย [[ชาร์ลส์ชาลส์ กูดเยียร์กู๊ดเยียร์]] (Charles Goodyear)
{|
 
|[[File:Vulcanisation.GIF|thumb|left|500px|วัลคาไนเซชัน]]
|}
== ระบบวัลคาไนซ์โดยกำมะถัน ==
 
ในระบบวัลคาไนซ์ยางโดยกำมะถันนั้นสามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท ขึ้นกับลักษณะการใช้กำมะถันในการเกิดพันธะเชื่อมโยงระหว่างโมเลกุลของยาง<ref>พรพรรณ นิธิอุทัย, สารเคมีสำหรับยาง, 2528, ภาควิชาเทคโนโลยียางและพอลิเมอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี</ref> คือ
 
เส้น 14 ⟶ 12:
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
 
[[หมวดหมู่:กระบวนการทางเคมี]]