1
การแก้ไข
พุทธามาตย์ (คุย | ส่วนร่วม) (ย้อนการแก้ไขที่ 8379725 สร้างโดย 2403:6200:8872:A220:4D0D:D6B9:6AAB:2D1C (พูดคุย)) ป้ายระบุ: ทำกลับ |
Radathon2015 (คุย | ส่วนร่วม) |
||
ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช สมเด็จพระเจ้าเสือได้ถวายตัวเป็นมหาดเล็กรับราชการเป็นที่ โปรดปรานของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ต่อมาได้ตำแหน่งเป็นหลวงสรศักดิ์ สมัยสมเด็จพระเพทราชา หลวงสรศักดิ์ให้รับสถาปนาเป็นพระมหาอุปราช กรมพระราชวังบวรสถานมงคลซึ่งหวังจะได้ขึ้นครองราชสมบัติต่อจากสมเด็จพระเพทราชา แต่สมเด็จพระเพทราชากลับทรงโปรดปราน[[เจ้าพระขวัญ]] พระราชโอรสของพระองค์และ[[กรมหลวงโยธาทิพ]]แถมมีผู้คนมากมายต่างพากันนับถือ ทำให้กรมพระราชวังบวรฯเกิดความหวาดระแวงว่าราชสมบัติจะตกไปอยู่กับเจ้าพระขวัญ จึงลวงให้เจ้าพระขวัญมาสำเร็จโทษด้วยไม้ท่อนจันทร์ เมื่อสมเด็จพระเพทราชาซึ่งทรงประชวรทรงทราบทรงพระพิโรธกรมพระราชวังบวรฯ เป็นอันมากแลตรัสว่าจะไม่ยกราชสมบัติให้แก่กรมพระราชวังบวรฯ แล้วทรงพระกรุณาตรัสเวนราชสมบัติให้เจ้าพระพิไชยสุรินทร พระราชนัดดา หลังจากนั้นสมเด็จพระเพทราชาทรงสวรรคต เจ้าพระพิไชยสุรินทรทรงเกรงกลัวกรมพระราชวังบวรฯจึงไม่กล้ารับ และน้อมถวายราชสมบัติแด่กรมพระราชวังบวรฯ เมื่อกรมพระราชวังบวรฯได้ขึ้นครองราชสมบัติในปี
พ.ศ. 2246 มีพระราชโอรส 2 พระองค์ คือ เจ้าฟ้าเพชร ([[สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระ]]) และเจ้าฟ้าพร ([[สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ]]) มีพระสมัญญานามว่า “เสือ”<ref name="พิจิตร" /> ตั้งแต่สมัยที่ยังดำรงตำแหน่งเป็น หลวงสรศักดิ์ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชมาแล้ว<ref name="เสือ">[[จุลลดา ภักดีภูมินทร์]]. [http://www.sakulthai.com/DSakulcolumndetail.asp?stcolumnid=718&stissueid=2436&stcolcatid=2&stauthorid=13 พระบัณฑูรใหญ่ พระบัณฑูรน้อย]{{dead link|date=August 2018}}. '''สกุลไทย''' ฉบับที่
ทรงมีความเด็ดขาดในการมีรับสั่งให้ผู้ที่ปฏิบัติงานใดต้องสำเร็จผลเป็นอย่างดี หากบกพร่องพระองค์จะมีรับสั่งให้ลงโทษ ไม่เฉพาะข้าราชบริพารเท่านั้น แม้พระราชโอรสทั้งสองก็เช่นกัน อย่างเช่น ในการเสด็จไปคล้องช้างที่เมือง[[นครสวรรค์]] มีรับสั่งให้เจ้าฟ้าเพชรและเจ้าฟ้าพรตัดถนนข้ามบึงหูกวาง โดยถมบึงส่วนหนึ่งให้เสร็จภายในหนึ่งคืน พระราชโอรสดำเนินงานเสร็จตามกำหนด แต่เมื่อเสด็จพระราชดำเนิน ช้างทรงตกหลุม ทรงลงพระราชอาญาเจ้าฟ้าเพชร แต่ภายหลังก็ได้รับพระราชทานอภัยโทษ<ref name="เสือ" />
<blockquote>"ครั้งนั้น สมเด็จพระเจ้าแผ่นดินมีพระราชหฤทัยกักขฬะ หยาบช้า ทารุณ ร้ายกาจ ปราศจากกุศลสุจริต ทรงพระประพฤติผิดพระราชประเพณี มิได้มีหิริโอตัปปะ และพระทัยหนาไปด้วยอกุศลลามก มีวิตกในโทสโมหมูลเจือไปในพระสันดานเป็นนิรันดร์มิได้ขาด แลพระองค์เสวยน้ำจัณฑ์ขาวอยู่เป็นนิจ แล้วมักยินดีในการอันสังวาสด้วยนางกุมารีอันยังมิได้มีระดู ถ้าและนางใดอุตส่าห์อดทนได้ ก็พระราชทานรางวัลเงินทองผ้าแพรพรรณต่าง ๆ แก่นางนั้นเป็นอันมาก ถ้านางใดอดทนมิได้ไซร้ ทรงพระพิโรธ และทรงประหารลงที่ประฉิมุราประเทศให้ถึงแก่ความตาย แล้วให้เอาโลงเข้ามาใส่ศพนางนั้นออกไปทางประตูพระราชวังข้างท้ายสนมนั้นเนือง ๆ และประตูนั้นก็เรียกว่า ประตูผีออก มีมาตราบเท่าทุกวันนี้</blockquote>
<blockquote>"อยู่มาครั้งหนึ่ง สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จด้วยพระชลพาหนะออกไปประพาส ณ เมืองเพชรบุรี และเสด็จไปประทับแรมอยู่ ณ พระราชนิเวศน์ตำบลโตนดหลวง ใกล้ฝั่งพระมหาสมุทร และที่พระตำหนักนี้เป็นที่พระตำหนักเคยประพาสมหาสมุทรมาแต่ก่อนครั้งแผ่นดินสมเด็จพระนเรศวรบรมราชาธิราชบพิตรเป็นเจ้านั้น และสมเด็จพระเจ้าแผ่นดินก็เสด็จด้วยพระที่นั่งมหานาวาท้ายรถ แล่นไปประพาสในท้องพระมหาสมุทรตราบเท่าถึงตำบลเขาสามร้อยยอด และทรงเบ็ดตกปลาฉลามและปลาอื่นเป็นอันมาก แล้วเสด็จกลับมา ณ ตำหนักโตนดหลวง และเสด็จเที่ยวประพาสอยู่ดังนั้นประมาณ 15 เวร จึ่งเสด็จกลับยังกรุงเทพมหานคร"
พงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับคำให้การชาวกรุงเก่า ได้บันทึกเกี่ยวกับสมเด็จพระพุทธเจ้าเสือ ดังนี้
"</blockquote>
== พระราชกรณียกิจ ==
# ปี พ.ศ. 2249 เกิดอัสนีบาตต้องยอดมณฑป[[พระมงคลบพิตร]] เครื่องบนมณฑป ทรุดโทรมพังลงมาต้องพระศอพระมงคลบพิตรหัก โปรดฯ ให้รื้อเครื่องบนออก ก่อสร้างใหม่แปลงเป็นมหาวิหาร
# เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์แรกที่เสด็จพระราชดำเนินไปนมัสการ[[พระพุทธฉาย]]และสันนิษฐานว่าค้นพบในสมัยพระองค์
# พระราชกรณียกิจที่สำคัญอันเกี่ยวเนื่องเมืองพิจิตร เพื่อเป็นการ
สมเด็จพระเจ้าเสือทรงเลื่อมใสในพระพุทธศาสนา โปรดฯ ให้[[สมเด็จเจ้าแตงโม]] ([[พระสุวรรณมุนี]]) เป็นพระอาจารย์สอนวิชาความรู้แก่พระราชโอรสและพระราชนัดดา ทรง
# บดีมีพระราชโอรสด้วยพระมเหษีใหญ่ ๓ องค์ องค์ที่ ๑ พระนาม สุรินทกุมาร องค์ที่ ๒ พระนามวรราชกุมาร องค์ที่ ๓ พระนามว่า อนุชากุมาร ๆ นี้กล้าหาญดุร้ายมาก วัน ๑ รับสั่งให้พวกมหาดเล็กเด็ก ๆ ด้วยกันว่ายข้ามแม่น้ำ พวกมหาดเล็กเกรงอาญาก็พากันว่ายไป ที่มีกำลังน้อยจมตายบ้างก็มี กิติศัพท์ทราบถึงพระเจ้าสุริเยนทราธิบดี ๆ ทรงพระพิโรธ รับสั่งให้เอาอนุชากุมารไปสำเร็จโทษเสียดังเด็กที่จมน้ำตายนั้นซึ่งคดเคี้ยวให้ตรง<ref name="พิจิตร">[http://www.phichit.go.th/phichit/index.php/about/campaign/12-campaign/11-campaign1 ถิ่นประสูติพระเจ้าเสือ - จังหวัดพิจิตร]</ref> และขุดลัดคลองอ้อมเกร็ด{{อ้างอิง}}
# ทรงให้มีการปรับปรุงเส้นทางทางไป[[พระพุทธบาทสระบุรี]] ให้เดินทางมาสะดวกยิ่งขึ้น
== สวรรคต ==
== พงศาวลี ==
|
การแก้ไข