ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เศษส่วน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 8337190 สร้างโดย 2001:44C8:4709:7F00:6CA4:8BA9:DA0:C1B2 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
รูปแบบของเศษส่วน
บรรทัด 6:
การเขียนเศษส่วน ให้เขียนแยกออกจากกันด้วย[[เครื่องหมายทับ]]หรือ ''ซอลิดัส'' (solidus) แล้ววางตัวเศษกับตัวส่วนในแนวเฉียง เช่น ¾ หรือคั่นด้วยเส้นแบ่งตามแนวนอนเรียกว่า ''วิงคิวลัม'' (vinculum) เช่น {{เศษ|3|4}} ในบางกรณีอาจพบเศษส่วนที่ไม่มีเครื่องหมายคั่น อาทิ <sup>3</sup><sub>4</sub> บน[[ป้ายจราจร]]ในบาง[[ประเทศ]]
 
== รูปแบบของเศษส่วน ==
<br />
=== เศษส่วนสามัญ เศษส่วนแท้ และเศษเกิน ===
'''เศษส่วนสามัญ''' (vulgar/common fraction) คือ[[จำนวนตรรกยะ]]ที่สามารถเขียนอยู่ในรูป ''a''/''b'' หรือ {{เศษ|''a''|''b''}} โดยที่ ''a'' และ ''b'' ซึ่งเรียกว่า ''ตัวเศษ'' และ ''ตัวส่วน'' ตามลำดับ เป็น[[จำนวนเต็ม]]ทั้งคู่<ref>{{MathWorld |title=Common Fraction |id=CommonFraction}}</ref> ตัวเศษแสดงแทนจำนวนของส่วนแบ่ง และตัวส่วนซึ่งไม่เท่ากับศูนย์แสดงแทนการแบ่งส่วนจากทั้งมวล เช่น {{เศษ|1|3}}, {{เศษ|3|4กนั้นเศษส่วนสามัญยังแยกออกเป็น'''เศษส่วนแท้''' (proper fraction) ซึ่งมีค่าของตัวเศษน้อยกว่าตัวส่วน ทำให้ปริมาณของเศษส่วนน้อยกว่า 1 เช่น {{เศษ|7|9}} และ'''เศษเกิน''' (improper fraction) คือเศษส่วนที่ค่าของตัวเศษมากกว่าหรือเท่ากับตัวส่วน เช่น {{เศษ|5|5}}, {{เศษ|9|7}}