ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อำเภอนาดูน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Thanatchai (คุย | ส่วนร่วม)
Thanatchai (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 79:
หมั่นทำบุญตามประเพณี 12 เดือน ซึ่งชาวอีสานเรียกว่า ฮีตสิบสอง โดยเฉพาะความเชื่อความเลื่อมใสศรัทธาในพระพุทธศาสนา
และนิยมศิลปะวัฒนธรรมการละเล่นพื้นเมืองได้แก่ หมอลำหมู่ หมอลำกลอน หมอลำเพลิน ฯลฯ เช่นเดียวกับชาวอีสานทั่วไป
== ศูนย์กลางทางศาสนา ==
<nowiki>จากจารึกที่พบจากศาลานางขาวตอนหนึ่งระบุนามกษัตริย์ว่า "....กมรเตงอัญศรีชัยพร ( ห ) มเทพ "
 
( อำไพ คำโท 2524 : 2 ) พระนามนี้แสดงถึงอิทธิพล หรือเป็นกษัตริย์ที่ยอมรับทั้งพราหมณ์และพุทธแบบมหายาน ดินแดนอีสานในสมัยนั้นได้รับอิทธิพลทางศาสนาพราหมณ์ในลัทธิไศวนิกาย (นับถือศิวลึงก์) ได้ผ่านเข้ามาทางอาณาจักรเจนละโดยเฉพาะในสมัยของ พระเจ้าเฆนทรวรมัน (เจ้าชายจิตรเสน) ส่วนพุทธศาสนาแบบมหายาน ได้ผ่านเข้ามาทางภาคกลางของประเทศไทย
 
จากหลักฐานทางโบราณคดีของเมืองนครจัมปาศรี ที่ปรากฏในเขตอำเภอนาดูน ปัจจุบัน เช่น กู่สันตรัตน์ กู่น้อย ศาลานางขาว พระพิมพ์ดินเผา สถูปบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ตลอดจนบ่อน้ำศักดิ์สิทธิ์ ได้กลายเป็นสัญลักษณ์ ที่สำคัญทางศาสนา โดยเฉพาะทางพระพุทธศาสนา
 
</nowiki>
 
== ที่ตั้งและอาณาเขต ==