ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระเสาร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
บริการเปลี่ยนหมวดหมู่อัตโนมัติด้วยบอต
หลักฐานการอ้างอิง
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
{{ระวังสับสน|ดาวเสาร์}}'''พระเสาร์''' ([[เทวนาครี]]: शनि ''ศนิ'') เป็น[[เทวดานพเคราะห์]]องค์หนึ่ง ในคติไทย พระเสาร์ถูกสร้างขึ้นมาจาก[[พระศิวะ]]ทรงนำพยัคฆ์ ([[เสือ]]) ๑๐ ตัว บดป่นเป็นผง ห่อผ้า[[สีดำ]] ประพรมด้วยน้ำอมฤต แล้วเสกได้เป็นพระเสาร์มีพระวรกายสีดำคล้ำ ทรงเครื่องประดับด้วยแก้วไพลินและแก้วนิลรัตน์ ทรงพยัคฆ์เป็นพาหนะ ประจำอยู่ทิศตะวันตกเฉียงใต้ และแสดงถึงอักษรวรรค ตะ (ด ต ถ ท ธ น) เรียกว่า นาคนาม ในไตรภูมิพระร่วง พระเสาร์มีวิมานลอยอยู่รอบเขาพระสุเมรุด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ วิมานใหญ่ ๑๘ โยชน์ รัศมีขาวริมเขียวดั่ง[[ดอกอัญชัน]]
{{ระวังสับสน|ดาวเสาร์}}
{{กล่องข้อมูล เทวดา
| ไฟล์ภาพ = Shani graha.JPG
| คำอธิบายภาพ = พระเสาร์ ในคติอินเดีย ทรงหอก,ธนู,ศร ทรงกาเป็นพาหนะ
| พระนาม = พระเสาร์
| ภาษาแม่ = เทวนาครี
| ชื่อในภาษาแม่ = शनि
| god_of = เทพผู้มอบผลกรรมให้แก่ผู้ที่ยังมีชีวิต เทพแห่งดาวเสาร์ ความยุติธรรม โชคร้าย ความเชื่องช้า กสิกรรม อารยธรรม
| จำพวก = เทวดานพเคราะห์
| เทวพาหนะ = กา,เสือ,แร้ง,ราชรถเทียมด้วยกา,โค,กระบือ
| ดาวพระเคราะห์ = ศนิโลก ([[ดาวเสาร์]]) [[ภาพ:Shani symbol.png|15px|]]
| อาวุธ = ไม้เท้า,คทา,ธนู,ศร,ตรีศูล,หอก,ดาบ,โล่ ฯลฯ
|บิดา=[[พระอาทิตย์]]|มารดา=พระนางฉายา|consort=พระนางธามิณี,พระนางนีลิมา|child=พระคุลิกัน,ฤๅษีกุลิคนะ,พระนางเสาวคนธ์,วิมลวานร ([[วานรสิบแปดมงกุฎ]]ในรามเกียรติ์)
}}
 
'''พระเสาร์''' ([[เทวนาครี]]: शनि ''ศนิ'') เป็น[[เทวดานพเคราะห์]]องค์หนึ่ง ในคติไทย พระเสาร์ถูกสร้างขึ้นมาจาก[[พระศิวะ]]ทรงนำพยัคฆ์ ([[เสือ]]) ๑๐ ตัว บดป่นเป็นผง ห่อผ้า[[สีดำ]] ประพรมด้วยน้ำอมฤต แล้วเสกได้เป็นพระเสาร์มีพระวรกายสีดำคล้ำ ทรงเครื่องประดับด้วยแก้วไพลินและแก้วนิลรัตน์ ทรงพยัคฆ์เป็นพาหนะ ประจำอยู่ทิศตะวันตกเฉียงใต้ และแสดงถึงอักษรวรรค ตะ (ด ต ถ ท ธ น) เรียกว่า นาคนาม ในไตรภูมิพระร่วง พระเสาร์มีวิมานลอยอยู่รอบเขาพระสุเมรุด้านทิศตะวันตกเฉียงใต้ วิมานใหญ่ ๑๘ โยชน์ รัศมีขาวริมเขียวดั่ง[[ดอกอัญชัน]]
 
ในคติฮินดู พระเสาร์ มีนามว่า พระศนิ เป็นบุตรของพระสูรยะ ([[พระอาทิตย์]]) กับพระนางฉายา ซึ่งเกิดจากเงาของพระนางศรัณยา เนื่องจากนางศรัณยาไม่อาจทนทานต่อแสงสุริยะได้ จึงได้สร้างนางฉายาขึ้นมา ให้นางฉายาอยู่กินกับพระสูรยะ จนให้กำเนิดบุตร เมื่อแรกเกิดพระศนิมีกายสีดำคล้ำ พระสูรยะไม่พอพระทัยและต่อว่านางฉายา พระศนิจึงใช้นัยน์ตาจ้องมองไปที่พระสูรยะ ทำให้ดวงอาทิตย์ดับมืดลง ประดุจเกิด[[สุริยุปราคา]] เมื่อพระสูรยะขออภัยต่อนางฉายา ดวงอาทิตย์จึงกลับมาสว่างดังเดิม พระสูรยะทรงเห็นดังนี้จึงไม่พอพระทัยอย่างมาก และรังเกียจบุตรผู้นี้ วันหนึ่งพระศนิเกิดเรื่องวิวาทกับ[[พระยม]] นางฉายาได้เข้ามาห้าม พระยมไม่พอใจจึงเตะนางฉายาด้วยเท้า นางจึงสาปให้พระยมขาพิการ มีแผลเน่าและมีหนอนเจาะแทะแผล พระยมจึงนำเรื่องไปฟ้องพระสูรยะ พระสูรยะจึงรู้ว่านางฉายาไม่ใช่นางศรัณยา พระสูรยะได้เสกไก่แจ้มารักษาหนอนและรักษาแผลให้ และได้ไปไต่ถามความจริงจากนางฉายา และตามหานางศรัณยาจนเจอ และพานางกลับมาที่สูรยโลก เมื่อนางศรัณยากลับมานางฉายาจึงกลับไปรวมร่างกับนางศรัณยา พระศนิเศร้าโศกและโกรธเป็นอย่างมาก ความร้าวฉานมีมากขึ้น วันหนึ่ง พระเสาร์ได้วิวาทกับพระยมอีกครั้ง นางศรัณยาได้เข้ามาห้าม และสาปให้พระศนิต้องไปกำเนิดบนโลกและต้องถูกพี่น้องของตนสังหาร ซึ่งพระศนิก็ได้มาถือกำเนิดเป็น[[กรรณะ]] และถูก[[อรชุน]]ผู้เป็นน้องชาย สังหารในวันที่ 17 ของ[[สงครามทุ่งกุรุเกษตร]] พระศนิไม่ต้องการอยู่ในสูรยโลกอีกต่อไป และเริ่มบำเพ็ญตบะต่อองค์[[พระศิวะ]] จนพระองค์พอพระทัย และตั้งพระศนิเป็นหนึ่งในเทวดานพเคราะห์ ให้เป็นเทพประจำดาวเสาร์ เป็นเทพแห่งความยุติธรรมในโลก เป็นผู้มอบผลกรรมให้แก่ผู้ที่ยังมีชีวิตอยู่ ต่อมาพระศนิได้วิวาห์กับนางธามิณี บุตรีของท้าวจิตรเสน ราชาแห่งเหล่า[[คนธรรพ์]] แต่พระศนิมิได้ให้ความสนใจในตัวนางมากนัก ในวันหนึ่งพระศนิกำลังสวดบูชา[[พระวิษณุ]] นางธามิณีผู้เป็นชายาจะเรียกเท่าไรก็ไม่ยอมลืมตา นางจึงสาปให้พระศนิมีดวงตาที่เป็นภัย หากมองสิ่งใดนอกจากนางแล้วสิ่งนั้นจะต้องวินาศ ทำให้พระศนิไม่ยอมสบตาผู้ใด พระวิษณุทรงพอพระทัย ในความมุ่งมั่นในศรัทธาของพระศนิ จึงให้วันเสาร์เป็นวันที่ใช้ในการบูชาพระวิษณุ หากผู้ใดบูชาพระวิษณุด้วยการให้ทานและถือศีลอด เป็นเวลา 7 วันเสาร์ ผู้นั้นจะรอดพ้นจากบาปเคราะห์ของพระศนิ นอกจากนี้พระศนิยังเคยจ้องมอง[[พระพิฆเนศ]] ทำให้พระพิฆเนศถูกพระศิวะตัดเศียร [[พระปารวตี]]ทรงพิโรธและสาปพระศนิให้ขาพิการ แต่ต่อมาทรงอภัยและถอนคำสาปให้
เส้น 29 ⟶ 14:
* อุระคินทร์ วิริยะบูรณะ และคณะ.พรหมชาติ ฉบับหลวง. กรุงเทพฯ:สำนักงาน ลูก ส.ธรรมภักดี, ม.ป.ป.
* เทพย์ สาริกบุตร และคณะ.พรหมชาติ ฉบับราษฎร์. กรุงเทพฯ:สำนักงาน ลูก ส.ธรรมภักดี, ม.ป.ป.
*เราคนไทยใจกตัญญูรู้คุณชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์พระเสาร์คือ www.คนไทย.com
{{commonscat|Shani|พระเสาร์}}
{{เทวดา}}
{{ทิศ}}