ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กลุ่มเดอะมอลล์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tigerathiwat (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Love Art Sweet (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 22:
 
==ประวัติ==
บริษัท เดอะมอลล์ กรุ๊ป จำกัด ได้เริ่มดำเนินการศูนย์การค้าและห้างสรรพสินค้าจากเดิมที่ครอบครัวทำธุรกิจอาบอบนวด โดยเปิดสาขาแรกเมื่อวันที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2524 คือ เดอะมอลล์ สาขาราชดำริ ซึ่งต่อมาภายหลังได้ให้ บริษัท นารายณ์ภัณฑ์พาวิลเลี่ยน จำกัด เช่าดำเนินการ เป็นศูนย์ศิลปหัตถกรรม จากนั้นอีกสองปีต่อมา บริษัทฯ ได้เปิดบริการสาขารามคำแหง 2 และในอีกสองปีหลังจากนั้นได้เปิดบริการเดอะมอลล์ 3 และ 4 ต่อมาใน พ.ศ. 2532 เดอะมอลล์ได้เปิดสาขาท่าพระซึ่งมีสวนน้ำภายในศูนย์การค้าเป็นแห่งแรกของไทย และใน พ.ศ. 2534 ก็ได้เปิดสาขางามวงศ์วาน และได้เปิดสาขาบางแค และบางกะปิพร้อมกันในวันเดียวกันเป็นครั้งแรกของประเทศใน พ.ศ. 2537 ซึ่งทั้งสองสาขาเป็นสาขาขนาดใหญ่ มีสวนน้ำแฟนตาเซียลากูน และเดอะมอลล์ คอนเวนชัน เซ็นเตอร์ หรือเอ็มซีซี ฮอลล์ ตั้งอยู่ภายในด้วย
 
จากนั้นในวันที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2540 กลุ่มเดอะมอลล์ได้เปิดตัวโครงการ [[เอ็มโพเรียม|ดิ เอ็มโพเรียม]] ศูนย์การค้าระดับสูงแห่งแรกของบริษัท บริเวณถนนสุขุมวิท<ref>http://themallgroup.com/th/page/emporiumhistory/</ref> ท่ามกลางกระแส[[วิกฤตการณ์การเงินในเอเชีย พ.ศ. 2540|เศรษฐกิจที่ย่ำแย่ในขณะนั้น]] และในปี พ.ศ. 2543 เดอะมอลล์ได้เปิดตัวสาขา[[นครราชสีมา]] ซึ่งก็ได้รับผลจากพิษเศรษฐกิจเช่นกัน ทำให้นับตั้งแต่นั้น เดอะมอลล์ต้องหยุดขยายโครงการไปนานถึง 6 ปี
 
ต่อมาในปี พ.ศ. 2545 [[สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์]]ได้เปิดให้เอกชนเข้าร่วมประมูลพื้นที่และอาคารศูนย์การค้าเวิลด์เทรดเซ็นเตอร์ ([[เซ็นทรัลเวิลด์]]ในปัจจุบัน) ซึ่งปรากฏว่ากลุ่มเดอะมอลล์และ[[กลุ่มเซ็นทรัล]]ต่างเข้าร่วมประมูล โดย[[กลุ่มเซ็นทรัล]]ได้เสนอผลตอบแทนที่สูงกว่า จึงทำให้บริษัทหันไปร่วมลงทุนกับ[[สยามพิวรรธน์]]ในการก่อสร้าง [[สยามพารากอน]] ศูนย์การค้าระดับบนขนาดใหญ่ ซึ่งเปิดดำเนินการในอีกสี่ปีต่อมา หลังจากนั้นกลุ่มเดอะมอลล์ก็ได้หยุดการขยายโครงการเป็นระยะเวลานาน
 
ในปี พ.ศ. 2556 กลุ่มเดอะมอลล์ได้จัดงาน "The Overture to the New Era of The Mall Group" เพื่อแถลงข่าวประกาศโครงการสำคัญ ได้แก่ การปรับปรุงใหญ่ของศูนย์การค้า ดิ เอ็มโพเรียม รวมถึงโครงการส่วนต่อขยายศูนย์การค้า[[เอ็มโพเรียม|ดิ เอ็มโพเรียม]] ได้แก่ [[เอ็มควอเทียร์|ดิ เอ็มควอเทียร์]] และดิเอ็มสเฟียร์ ภายใต้ชื่อ [[ดิ เอ็มดิสทริค]] บนถนนสุขุมวิทตอนกลาง การเปิดตัวศูนย์การค้า[[บลูพอร์ต]] ศูนย์การค้าจังหวัดภูมิภาคแห่งที่สองของกลุ่ม รวมถึงศูนย์การค้า [[แบงค็อก มอลล์]] บนพื้นที่ 100 ไร่ติด[[แยกบางนา]] กับ[[ถนนบางนา-ตราด]] และศูนย์การค้า[[บลูเพิร์ล]] บนพื้นที่ 150 ไร่ในจังหวัดภูเก็ตอีกด้วย
 
==กลุ่มธุรกิจของบริษัท==
บรรทัด 264:
 
|-
| bgcolor = "#ECECFF"|[[โคราชนครราชสีมา]]
| bgcolor = "#ECECFF"|10 สิงหาคม พ.ศ. 2543
| bgcolor = "#D5D5FF"|[[อ.เมืองนครราชสีมา]] [[จ.นครราชสีมา]]
บรรทัด 333:
** [[สถานีสวนจตุจักร|เอ็มอาร์ที สวนจตุจักร]] (กูร์เม่ต์ ทูโก)
** เดอะมอลล์ ช็อปปิ้ง เซ็นเตอร์ งามวงศ์วาน (กำลังปรับปรุงจากโฮมเฟรชมาร์ท)
** เดอะมอลล์ ช็อปปิ้ง เซ็นเตอร์ รามคำแหง (เดอะมอลล์ 2) (กำลังปรับปรุงจากโฮมเฟรชมาร์ทก่อสร้าง)
** เดอะมอลล์ ช็อปปิ้ง เซ็นเตอร์ รามคำแหง (เดอะมอลล์ 3) (กำลังปรับปรุงจากโฮมเฟรชมาร์ท)
** เดอะมอลล์ ช็อปปิ้ง เซ็นเตอร์ ท่าพระ (กำลังปรับปรุงจากโฮมเฟรชมาร์ท)