ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ค่ายมรณะซอบีบูร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Matable (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: ไฟล์:Poland_Sobibor_-_death_camp_mausoleum.jpg|thumb|200x200px|อนุสรสถาน์ของค่าย: พีระมิดที่มีทร...
 
Matable (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 9:
ในช่วงการก่อจลาจลในวันที่ 14 ตุลาคม ค.ศ. 1943 มีนักโทษประมาณ 600 คนได้พยายามหลบหนีออกมา มีจำนวนประมาณครึ่งหนึ่งที่ประสบความสำเร็จในการข้ามรั้วกั้นออกไปได้ ในขณะเดียวกันที่มีจำนวนผู้คนราว 50 คนถูกจับกลับไปอีกครั้ง รวมทั้ง Selma Wijnberg และสามีของเธอในอนาคต Chaim Engel พวกเขาได้แต่งงานกันในเวลาต่อมาและมีชีวิตอยู่เพื่อเป็นพยานต่อการก่ออาชญากรรมของนาซี ไม่นานหลังจากการก่อจลาจล เยอรมันได้ทำการปิดค่าย, เกลี่ยพื้นดินให้เรียบ และปลูกต้นสนหลายต้นเพื่อปกปิดพื้นที่ตั้งของค่ายแห่งนี้ สถานที่แห่งนั้นได้ถูกครอบครองโดยพิพิธภัณฑ์โซบีบอร์ มันได้ถูกจัดแสดงโดยพีระมิดที่เก็บขี้เถ้าและกระดูกที่ถูกบดขยี้ของเหยื่อที่ถูกเก็บรวบรวมจากหลุมฝังศพ
 
ในเดือนกันยายน ค.ศ. 2014 ทีมนักโบราณคดีได้ขุดค้นซากศพที่เหลือจากห้องรมแก็สที่ถูกฝังอยู่ใต้ถนนยางมะตอย มันได้ถูกค้นพบในปี ค.ศ. 2014 เป็นจี้ที่ถูกจารึกด้วยคำว่า"ดินแดนแห่งอิสราเอล"ในภาษาฮิบรู อังกฤษ และอาหรับ ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1927, ต่างหู, เครื่องมือวงดนตรีงานแต่งที่ถูกจารึกคำในภาษาฮิบรู และขวดน้ำหอมที่ตกลงพื้นซึ่งเป็นของเหยื่อชาวยิว<ref>{{cite web|url=http://www.haaretz.com/jewish-world/jewish-world-news/.premium-1.616667|title=Archaeologists make more historic finds at site of Sobibor gas chambers|date=19 September 2014|publisher=Haaretz.com|author=Ofer Aderet}}</ref><ref>{{cite web|last=Pempel|first=Kacper|title=Archaeologists uncover buried gas chambers at Sobibor death camp|website=U.S.|date=18 September 2014|url=https://www.reuters.com/article/us-poland-deathcamp/archaeologists-uncover-buried-gas-chambers-at-sobibor-death-camp-idUSKBN0HD24B20140918|access-date=4 April 2018}}</ref>
 
== อ้างอิง ==