ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อี พัง-จา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขที่ 8409527 สร้างโดย 124.120.118.213 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
| name = เจ้าหญิงพังจา
| ภาพ = ไฟล์:Yi Bangja.jpg
| พระนาม = มะซะมาซาโกะ <small>(ญี่ปุ่น)</small>, พังจา <small>(เกาหลี)</small>
| ฐานันดร =
| วันประสูติ = {{วันเกิด|2444|11|4}}<br>[[จังหวัดโตเกียว]] [[จักรวรรดิญี่ปุ่น]]
| วันสิ้นพระชนม์ = {{วันตายและอายุ|2532|4|30|2444|11|4}}<br>[[พระราชวังชังด็อก]] [[โซล]] [[เกาหลีใต้]]
| พระอิสริยยศ = เจ้าหญิงแห่งนะนาชิโมะโตะโมโตะ<br>มกุฎราชกุมารีแห่งเกาหลี
| พระบิดา = [[โมะโมริมะมาซะ นะนาชิโมะโตะโมโตะ|เจ้าชายโมริมะซะ เจ้าชายนะนาชิโมะโตะโมโตะ]]
| พระมารดา = [[อิสึโกะอิตสึโกะ นะนาชิโมะโตะโมโตะ|เจ้าหญิงอิสึโกะอิตสึโกะ พระชายาฯ]]
| พระสวามี = [[อี อึน|มกุฎราชกุมารอึยมิน]] <small>(2463–2513)</small>
| พระโอรส/ธิดา = [[อี จิน|เจ้าชายจิน]]<br>[[อี กู|เจ้าชายกู]]
บรรทัด 14:
}}
 
'''อี พัง-จา''' ({{korean|hangul=이방자|hanja=李方子|rr=I Bangja|mr=Yi Pangja}}) หรือ '''ริ มะซะมาซาโกะ''' ({{ญี่ปุ่น|李方子|Ri Masako}}; 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2444 — 30 เมษายน พ.ศ. 2532) มีพระนามเมื่อครั้งเป็นเจ้าในญี่ปุ่นว่า '''เจ้าหญิงมะซะมาซาโกะแห่งนะนาชิโมะโตะโมโตะ''' ({{ญี่ปุ่น|梨本宮方子|Nashimoto-no-miya Masako}}) พระชายาใน[[อี อึน|มกุฎราชกุมารอึยมินแห่งเกาหลี]]<ref>{{ko}}[http://media.daum.net/entertain/others/view.html?cateid=100030&newsid=20061030162108544&p=etn 김희애 조선 마지막 황태자비 이방자 역 캐스팅]</ref> เดิมทั้งสองพระองค์มีสิทธิ์ในการสืบราชบัลลังก์เป็นจักรพรรดิและจักรพรรดินีแห่งเกาหลี หากแต่เกิดการล้มล้างการปกครอง[[สนธิสัญญาผนวกดินแดนญี่ปุ่น-เกาหลี]] ในปี พ.ศ. 2453 ที่คาบสมุทรเกาหลีตกเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิญี่ปุ่น
 
อี พัง-จาเป็นเชื้อพระวงศ์ญี่ปุ่นทั้งเป็นพระประยูรญาติสนิทของ[[สมเด็จพระจักรพรรดินีโคจุง]] และ[[เจ้าหญิงเซะสึโกะ พระชายาในเจ้าชายยะซุฮิโตะ]] สืบมาแต่ฝ่ายพระบิดาและพระมารดาตามลำดับ จากการที่ทรงประกอบพระกรณียกิจด้วยการอุปถัมภ์องค์กรเพื่อคนพิการทุพพลภาพและการก่อตั้งโรงเรียนขึ้นในเกาหลีใต้ ด้วยเหตุนี้พระองค์จึงเป็นหนึ่งในสตรีญี่ปุ่นที่ชาวเกาหลีให้ความเคารพอย่างกว้างขวาง
บรรทัด 20:
== พระประวัติ ==
=== พระชนม์ชีพตอนต้น ===
อี พัง-จา หรือพระนามเดิมว่า เจ้าหญิงมะซะมาซาโกะแห่งนะนาชิโมะโตะโมโตะ ประสูติเมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2444 เป็นพระธิดาพระองค์ใหญ่ใน[[โมะโมริมะมาซะ นะนาชิโมะโตะโมโตะ|เจ้าชายโมะโมริมะมาซะ เจ้าชายนะนาชิโมะโตะโมโตะ]] กับ[[อิสึโกะอิตสึโกะ นะนาชิโมะโตะโมโตะ|เจ้าหญิงอิสึโกะอิตสึโกะ พระชายาฯ]] (สกุลเดิม: นะเบะชิมะนาเบชิมะ) มีพระขนิษฐาร่วมอุทรหนึ่งพระองค์คือ เจ้าหญิงโนะโนริโกะแห่งนะนาชิโมะโตะโมโตะ (2450–2535) และมีพระอนุชาที่พระมารดาทรงรับเลี้ยงไว้ ชื่อเจ้าชายโนะริฮิโกะแห่งนะนาชิโมะโตะโมโตะ (ต่อมาได้มียศและเปลี่ยนนามเป็น "เคานต์โนะเคานต์โนริฮิโกะ ทะซุตะทาซูตะ") หลังสิ้นสงครามโลกครั้งที่สองครอบครัวของพระองค์ถูกถอดจากฐานันดรศักดิ์ทั้งหมด
 
พื้นฐานครอบครัวของพระองค์ พระบิดาเป็นพระโอรสใน[[เจ้าชายอะซะอาซาฮิโกะ เจ้าชายคุนิ]] เจ้าหญิงมะซะมาซาโกะจึงเป็นพระญาติและมิตรสหายกับ[[จักรพรรดินีโคจุง|เจ้าหญิงนะงะนางาโกะแห่งคุคูนิ]] (ต่อมาได้เป็นพระจักรพรรดินีในจักรพรรดิโชวะ) ส่วนบรรพชนฝ่ายพระมารดาคือสกุลนะเบะชิมะนาเบชิมะ เป็นบุตรของนะโอะฮิโตะนาโอฮิโตะ นะเบะชิมะนาเบชิมะ [[ไดเมียว]]คนสุดท้ายแห่ง[[แคว้นซะงะ]] เจ้าหญิงพังจามีพระญาติชั้นหนึ่งในสายนี้ที่มีความสนิทสนมเป็นสหายร่วมกัน ชื่อ [[เจ้าหญิงเซะสึโกะ พระชายาในเจ้าชายยะซุฮิโตะ|เซะสึโกะเซ็ตสึโกะ มะสึไดระมัตสึไดระ]] ที่ต่อมาได้เป็นพระชายาใน[[เจ้าชายยะซุฮิโตะ เจ้าชายชิชิบุ]] และโยะชิโกะ มะสึไดระ ที่ต่อมาเป็นพระชายาใน[[อี ก็อน|เจ้าชายก็อนแห่งเกาหลี]]
 
=== อภิเษกสมรส ===
[[ไฟล์:Lee Eun & Masako1924.jpg|thumb|left|เจ้าหญิงพังจาและพระภัสดา เมื่อปี พ.ศ. 2467]]
เมื่อพระองค์ล่วงเข้าสู่วัยสาวสะพรั่ง พระองค์ได้ถูกจัดให้เป็นหนึ่งในสตรีที่มีความเหมาะสมกับการเป็นพระชายาของยุพราชเจ้าแห่งญี่ปุ่น ซึ่งก็รวมไปถึง[[สมเด็จพระจักรพรรดินีโคจุง|เจ้าหญิงนะงะโกะแห่งคุนิ]] พระสหาย และโทะกิโกะ อิชิโจที่มีความเหมาะสมในเรื่องของวัยวุฒิและสถานะทางสังคม แต่ด้วยเหตุที่ว่าพื้นฐานครอบครัวของพระองค์นั้นมีบุตรน้อยทั้งยังเป็นสตรีเสียหมดเจ้าหญิงอาจจะให้กำเนิดพระราชโอรสยาก เจ้าหญิงมะซะมาซาโกะจึงเป็นตัวเลือกที่ถูกตัดออกเป็นคนแรก
 
แต่อย่างไรก็ตามเจ้าหญิงมะซะมาซาโกะก็ได้เสกสมรสกับ[[อี อึน|มกุฎราชกุมารอึยมินแห่งเกาหลี]]แทน โดยมกุฎราชกุมารแห่งเกาหลีพระองค์นี้ถูกนำมาเข้ารับการศึกษาที่ญี่ปุ่นเมื่อปี พ.ศ. 2459 ครั้นเจ้าหญิงมะซะมาซาโกะทรงสำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนกะกุชูอิงในปี พ.ศ. 2463 ก็ได้มีการจัดพระราชพิธีอภิเษกสมรสเมื่อวันที่ 28 เมษายนปีเดียวกันนั้น ณ พระราชวังลี กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น และได้รับการสถาปนาเป็น "มกุฎราชกุมารีแห่งเกาหลี" ส่วนพระนาม "มะซะมาซาโกะ" ของพระองค์ออกเสียงอย่างเกาหลีว่า "พังจา" และสะกดด้วยอักษรจีนเช่นกัน
 
เจ้าหญิงมะซะมาซาโกะ หรือเจ้าหญิงพังจา ได้ให้ประสูติกาลพระโอรสพระองค์แรกคือ [[เจ้าชายจินแห่งเกาหลี|เจ้าชายจิน]] เมื่อวันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2464 แต่พระโอรสพระองค์น้อยนี้ก็มีพระชนม์ให้ชื่นชมโสมนัสได้ไม่นานก็ถูกลอบปลงพระชนม์เมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2465 ขณะที่มกุฎราชกุมารและเจ้าหญิงพังจาประทับอยู่ในเกาหลี สร้างความเศร้าเสียพระทัยแก่ทั้งสองพระองค์อย่างยิ่ง
 
วันที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2469 [[จักรพรรดิซุนจง]] พระเชษฐาของมกุฎราชกุมารเสด็จสวรรคต พระองค์จึงมีพระอิสริยยศเป็น "พระราชินี" ส่วนพระสวามีเป็น "พระราชา" ก็เพราะ[[สนธิสัญญาผนวกดินแดนญี่ปุ่น-เกาหลี]]ที่ลดตำแหน่งผู้นำเกาหลีจากจักรพรรดิเป็นเพียงราชา แต่เจ้าชายอึยมินไม่เคยผ่านพิธีราชาภิเษก ทั้งสองจึงมีอิสริยยศเพียงมกุฎราชกุมาร และมกุฎราชกุมารีตามเดิม ระหว่างนี้เจ้าหญิงพังจาได้ให้ประสูติกาลพระโอรสองค์ที่สอง คือ [[เจ้าชายกู]] เมื่อวันที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2474
บรรทัด 41:
หลังจากนั้นเป็นต้นมา เจ้าหญิงพังจาได้อุทิศพระองค์ให้กับการศึกษาเกี่ยวกับสภาพจิตใจและบุคคลทุพพลภาพ ทรงดำรงตำแหน่งเป็นประธานและคณะกรรมการต่าง ๆ รวมทั้ง "คณะกรรมการที่ระลึกถึงมกุฎราชกุมารอึยมิน" (Commemorative Committee of Crown Prince Euimin) และโรงพยาบาลมย็องฮวี-ว็อน สำหรับคนหูหนวก, เป็นใบ้ หรือผู้ป่วยทารก นอกจากนี้ยังทรงก่อตั้งโรงเรียนจาฮเย และโรงเรียนมย็องฮเย สำหรับคนพิการให้ปรับตัวเข้าสู่สังคมได้อย่างปกติสุข ด้วยเหตุนี้พระองค์จึงได้รับการเคารพจากชาวเกาหลีว่าเป็น "แม่พระของผู้ทุพพลภาพแห่งเกาหลี" แม้จะมีการต่อต้านญี่ปุ่นก็ตาม แต่เจ้าหญิงพังจาก็เป็นชาวญี่ปุ่นที่ชาวเกาหลีเคารพรักอย่างกว้างขวาง<ref>[http://www.urisuwon.com/sub_read.html?uid=3041&section=section11& Interview with principal of Jahye school in South Korea (우리 모두는 남이 아닌 한 이웃)]</ref><ref>ได้รับการยืนยันจากนักศึกษาของพระองค์ โดยเจ้าหญิงพังจาได้ให้ความห่วงใยแก่บุคลากร สัตว์ หรือแม้แต่เครื่องจักร อ้างจาก "이방자 여사는 장애인을 이끌어준 등불" (Princess Lee, the Lighthouse for the physically challenged) , [http://news.naver.com/main/read.nhn?mode=LSD&mid=sec&sid1=102&oid=001&aid=0001783103 Yonhap News]</ref>
 
ภายหลังการสิ้นพระชนม์ของเจ้าหญิงพังจาในปี พ.ศ. 2532 ราชสกุลนะนาชิโมะโตะโมโตะได้เข้ามาแสดงความเคารพเจ้าหญิงพังจาที่โซลในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2544 ราชสกุลนะนาชิโมะโตะโมโตะมีการจัดตั้งกองทุนการกุศลให้การช่วยเหลือชาวเกาหลีมาอย่างต่อเนื่อง ทั้งการตรวจร่างกาย เฉกเช่นเมื่อสมัยที่เจ้าหญิงพังจาได้กระทำขณะเจ้าหญิงยังมีพระชนม์อยู่<ref>{{ko}} [http://www.hankyung.com/news/app/newsview.php?aid=2008100290821&type=&nid=&sid=0106&page=1 영친왕비 이방자 여사 종친 방한]</ref>
 
ส่วนพระองค์ได้เข้ารีต[[ศาสนาคริสต์]][[นิกายโรมันคาทอลิก]] และมีพระนามทางศาสนาว่า "มารีอา"<ref>{{ko}} {{cite web | url = http://www.pbc.co.kr/CMS/newspaper/view_body.php?cid=225964&path=200710 | publisher = 평화신문 | date = 2007년 10월 21일 | title = 장애인 복지시설의 요람 40돌 | accessdate=}}</ref>
บรรทัด 54:
 
== พระอิสริยยศ ==
* เจ้าหญิงมะซะมาซาโกะแห่งนะนาชิโมะโตะโมโตะ (4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2444 — 28 เมษายน พ.ศ. 2463)
* เจ้าหญิงพังจา มกุฎราชกุมารีแห่งเกาหลี (28 เมษายน พ.ศ. 2463 — 2469)
* สมเด็จพระราชินีอี (พ.ศ. 2469 — 2517)
บรรทัด 83:
|boxstyle_5=background-color: #9fe;
|1= 1. '''อี พัง-จา'''
|2= 2. [[โมริมะมาซะ นะนาชิโมะโตะโมโตะ]]
|3= 3. [[อิตสึโกะ นาชิโมโตะ|อิตสึโกะ นาเบชิมะ]]
|3= 3. [[อิสึโกะ นะชิโมะโตะ|อิสึโกะ นะเบะชิมะ]]
|4= 4. [[เจ้าชายอะซะอาซาฮิโกะ เจ้าชายคุนิ]]
|5= 5. มิสึเอะตสึเอะ ฮะระดะฮาราดะ
|6= 6. [[นาโอฮิโระ นาเบชิมะ]]
|6= 6. [[นะโอะฮิโระ นะเบะชิมะ]]
|7= 7. นะงะโกะนางาโกะ ฮิโระฮะชิโรฮาชิ
|8= 8. เจ้าชายคุคูนิเอะ เจ้าชายฟุฟูชิมิ
|9= 9. โนะบุโกะโนบูโกะ โทะโทริโกะจิโกจิ
|10=
|11=
|12= 12. [[นะโอะมะซะนาโอมาซะ นะเบะชิมะนาเบชิมะ]]
|13=
|14= 14. ทะเนะยะซุทาเนยาซุ ฮิโระฮะชิโรฮาชิ
|15=
|16= 16. เจ้าชายซะดะโยะชิซาดาโยชิ เจ้าชายฟุฟูชิมิ
|17=
|18=
บรรทัด 105:
|22=
|23=
|24= 24. นะนารินะนาโอะ นะเบะชิมะนาเบชิมะ
|25= 25. ซะชิซาจิโกะ อิเกะดะอิเกดะ
|26=
|27=
|28= 28. มิสึนะริตสึนาริ ฮิโระฮะชิโรฮาชิ
|29= 29. บุตรสาวของอะซะยุอาซายูกิ อะซุไกอาซูไก
|30=
|31=