ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระนางมุนจ็อง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 46:
* พ.ศ. 2060 พระนางมุนจ็องร่วมมือกับ[[ช็อง นัน-จ็อง]] ภรรยาของ[[ยุน ว็อน-ฮย็อง]] ใส่ร้าย[[พระสนมคย็องบิน]] โดยการนำหนูตายและแผ่นป้ายสาปแช่ง องค์รัชทายาท ไปแขวนบนต้นไม้และส่งเป็นของขวัญในวันประสูติขององค์รัชทายาทและบีบให้ใต้เท้าพักชองกุลหักหลังพระสนมยองพินด้วยการจับผิด ใต้เท้าพักชองกุลเข้าเฝ้าพระสนมยองพินในยามวิกาลทำให้ใต้เท้าพักชองกุลต้องทำตามรับรับสั่งของพระนาโดยการนำความขึ้นกราบทูลพระเจ้าจุงจงว่า พระสนมคย็องบิน เป็นคนทำการสาปแช่งองค์รัชทายาทและร่วมมือกับพระพันปีจาซุน ขอให้พระเจ้าจุงปลดพระสนมคย็องบินออกจากตำแหน่งและพระราชทานยาพิษแก่ พระสนมคย็องบิน และ องค์ชายพกซ็อง พระโอรสองค์โต ในพระเจ้าจุงจง เมื่อพระนางสามารถปลด พระสนมคย็องบินออกจากตำแหน่งและประทานยาพิษแก่พระสนมคย็องบินและองค์ชายพกซ็องได้พระนางก็เริ่มมีบทบาทในวังมากยิ่งขึ้น หลังจากนั้นพระนางและ ชองนานจอง ยังคงเดินหน้าต่อ กำจัดเสี้ยนหนามของตน คือ [[คิม อันโล|คิมอันโล]] และ ยุนนิม แต่ในเวลานั้น ทั้งยุนนิมและ ใต้เท้าคิมอันโล ก็มีเรื่องกันภายใน ทำให้ทั้งสองต้องแยกทางอันเป็นพันธมิตรต่อกันมายาวนาน เมื่อทั้งสองแตกคอกัน ใต้เท้าคิมอันโลก็ยึดอำนาจในวังเกือบหมด ตั้งตนเองเป็นถึง มหาเสนาบดี ทำให้คิมอันโลมีอำนาจในวังอย่างมาก แต่แล้ว ก็ต้องพ่ายแพ้แก่ความเฉลียวฉลาดของชองนานจอง ทำให้ถูกปลดออกจากตำแหน่งและเนรเทศไปต่างเมืองเหตุการณ์ครั้งนั้นทำให้ยุนนิม มีอำนาจมากขึ้นและตั้งตนเองเป็น มหาเสนาบดีเช่นกัน เมื่อ และ พยายามแต่งตั้ง องค์รัชทายาทขึ้นดำรงตำแหน่ง และ สำเร็จในที่สุด ทำให้ฝ่ายยุนใหญ่ มีอำนาจในวังอย่างมาก ยุนนิมยังพยายามที่จะกำจัดพระมเหสีต่อไป แต่ชองนานจองก็ลอบปลงพระชนม์พระเจ้าอินจง ถึงหลายครั้งในที่สุด ก็ทำสำเร็จ ด้วยการวางยาพิษ ประกอบกับ พระเจ้าอินจงมีสภาพร่างกายที่ไม่แข็งแรงทำให้ล้มป่วยบ่อยๆ และ พระเจ้าอินจงก็สวรรคตในที่สุด ทำให้มีการแต่งตั้ง องค์ชายคังวอน เป็น พระเจ้าเมียงจง แต่ก็เกิดเหตุการณ์ความขัดแย้งขึ้นอีก เนื่องจาก พระเจ้าเมียงจงในขณะนั้น มีพระชนมายุน้อย ทำให้ต้องมีการว่าราชการหลังม่าน ทำให้พระมเหสีมุนจอง ที่ตอนนั้นดำรงค์ตำแหน่งเป็น พระพันปีมุนจอง ต้องแย่งชิงตำแหน่งนี้กับ[[พระนางอินซ็อง]] (อดีตพระมเหสีในสมัยพระเจ้าอินจง) แต่แล้วเหล่าขุนนางก็ลงมติเลือกพระพันปีมุนจ็อง เป็นผู้ว่าราชการหลังม่านแทน ทำให้ พระนางยิ่งมีอำนาจในวังมากขึ้น และ พระนางกับนานจองยังกำจัด ฝ่ายยุนใหญ่ได้สำเร็จเป็นเหตุทำให้ [[ยุน วอนฮยอง|ยุนวอนฮัง]] ฝ่ายยุนเล็ก พระเชษฐาของพระพันปีมุนจอง กุมอำนาจในวังได้สำเร็จ และ เสวยสุขนานกว่า 20 ปี ช่วงนั้นถือเป็นช่วงที่ สตรีกุมชะตาแผ่นดินไว้ และ ยังเป็นครั้งแรกในหน้าประวัติศาสตร์โชซอน อีก เพราะ พระพันปีมุนจง ยังแต่งตั้ง ชองนานจอง อนุภรรยาของ พระเชษฐายุนวอนฮัง เป็น ภรรยาเอก ทั้งพระเชษฐายุนวอนฮัง และ ชองนานจอง สร้างความเดือดร้อนให้กับประเทศเกาหลีอย่างมากเพราะ ทั้งฉ้อราษฏ์บังหลวงอย่างมาก จนในที่สุด พระพันปีมุนจงก็สวรรคตในที่สุด เมื่อ ปี ค.ศ.1565 ทำให้ พระเชษฐายุนวอนฮังและชองนานจอง ต้องลี้ภัยออกจากเมืองหลวง เพื่อดูสถานการณ์ ชองนานจองจึงอาสากลับมาที่เมืองหลวงเพื่อดูราดราว แต่ ในระหว่างทางกลับถูกชาวบ้านรอบทำร้าย ทำให้ชองนานจอง ถึงกลับสลบไป แต่นางถูกช่วยด้วย นักบวชที่เคยทำคลอดนาง แต่ พระเชษฐายุนวอนฮังได้ข่าวว่า ภรรยาของพระนางตายแล้ว ยุนวอนฮัง จึงกินยาพิษตาย ในบ้านหลังหนึ่ง เมื่อ ชองนานจองได้ข่าวว่า สามีตัวเองตายก็ตรอมใจตาย ด้วยการเดินลงทะเล
 
 
 
{{เริ่มกล่อง}}
{{สืบตำแหน่ง
| รูปภาพ =
| ตำแหน่ง = สมเด็จพระราชินีแห่งโชซอน
| จำนวนตำแหน่ง =
| ก่อนหน้า = [[พระนางชังกย็อง|สมเด็จพระราชินีชังกย็อง]]
| จำนวนก่อนหน้า =
| ถัดไป = [[พระนางอินซ็อง|สมเด็จพระราชินีอินซ็อง]]
| จำนวนถัดไป =
| ช่วงเวลา = ค.ศ. 1517 - 1544
}}
{{จบกล่อง}}
 
{{อายุขัย|2044|2108}}
[[หมวดหมู่:ราชินีแห่งโชซ็อน]]