ผลต่างระหว่างรุ่นของ "องคชาตมนุษย์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
{{เตือนเรื่องเพศ}}
{{กล่องข้อมูล กายวิภาคศาสตร์
| Name = องคชาตของมนุษย์
| Latin = 'penis, penes'
| GraySubject = 262
| GrayPage = 1247
| Image =
| Caption =
| Width =
| Precursor = [[ปุ่มอวัยวะสืบพันธุ์]], [[พัฒนาการของระบบปัสสาวะ|ส่วนทบอวัยวะเพศและทางเดินปัสสาวะ]]
| System =
| Artery = [[หลอดเลือดแดงด้านบนขององคชาต]], [[หลอดเลือดแดงลึกขององคชาต]], [[หลอดเลือดแดงของกระเปาะองคชาต]]
| Vein = [[หลอดเลือดดำด้านบนขององคชาต]]
| Nerve = [[เส้นประสาทด้านบนขององคชาต]]
| Lymph = [[ต่อมน้ำเหลืองผิวขาหนีบ]]
| MeshName = Penis
| MeshNumber = A05.360.444.492
| DorlandsPre =
| DorlandsSuf =
}}
'''องคชาตของมนุษย์'''เป็น[[อวัยวะสืบพันธุ์]][[เพศชาย]]ภายนอก และยังทำหน้าที่เป็น[[ท่อปัสสาวะ]] มีส่วนหลักคือ ส่วนราก (Root / Radix) ส่วนลำตัว (Corpus) และส่วน[[เนื้อเยื่อบุผิว]]ขององคชาต รวมถึง[[ผิวหนัง|หนัง]]บริเวณก้าน และ[[หนังหุ้มปลาย]]ซึ่งห่อหุ้ม[[ส่วนหัวขององคชาต]] (Glans) ด้วย ส่วนลำตัวของ[[องคชาต]]เกิดจาก[[เนื้อเยื่อ]]สามต้น ประกอบด้วยกล้ามเนื้อ[[คอร์ปัส คาเวอร์โนซัม]] (Corpus cavernosum) สองมัดที่[[อภิธานศัพท์กายวิภาคศาสตร์และที่ตั้ง|ด้านบน]] และกล้ามเนื้อ[[คอร์ปัส สปอนจิโอซัม]] (Corpus spongiosum) ซึ่งอยู่ระหว่างกลางของกล้ามเนื้อส่วนแรก [[ท่อปัสสาวะ]]ของมนุษย์เพศชายจะผ่านกลาง[[ต่อมลูกหมาก]] ที่ซึ่งเชื่อมกับ[[ท่อฉีดอสุจิ]] และจากนั้นจะผ่านไปที่องคชาต โดยท่อปัสสาวะจะทอดตัวข้ามกล้ามเนื้อคอร์ปัส สปอนจิโอซัม และออกสู่รูเปิดบริเวณ[[รูปัสสาวะ]] (Meatus) ซึ่งตั้งอยู่บริเวณปลายของส่วนหัวองคชาต โดยทำหน้าที่เป็นทางผ่านของทั้ง[[ปัสสาวะ]]และ[[การหลั่งน้ำอสุจิ|การหลั่ง]]ของ[[น้ำอสุจิ]]
 
[[การพัฒนาของระบบสืบพันธุ์|การพัฒนา]]ขององคชาตโดยส่วนใหญ่จะมาจากเนื้อเยื่อเดียวกันในตัวอ่อน เช่นเดียวกับ[[คริตอริส]]ของเพศหญิง ผิวหนังโดยรอบขององคชาตและท่อปัสสาวะ ก็มาจากเนื้อเยื่อตัวอ่อนเดียวกันกับที่จะพัฒนาไปเป็น[[แคมเล็ก]]ของเพศหญิง<ref name=DevHuman/><ref name="JonesLopez2013p352">{{cite book|author1=Richard E. Jones|author2=Kristin H. Lopez|title=Human Reproductive Biology|url=https://books.google.com/books?id=M4kEdSnS-pkC&pg=352|date=28 September 2013|publisher=Academic Press|isbn=978-0-12-382185-0|page=352}}</ref> การแข็งตัวคือการแข็งและสูงขึ้นขององคชาต ซึ่งจะเกิดขึ้นในขณะมี[[อารมณ์ทางเพศ]] แต่ก็ยังสามารถเกิดขึ้นในขณะที่ไม่มีอารมณ์ทางเพศได้เช่นกัน รูปแบบการเปลี่ยนแปลงส่วนหัวองคชาตที่พบได้บ่อยที่สุดคือ [[การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ]] โดยเป็นการนำส่วนหนึ่ง หรือทั้งหมดของหนังหุ้มปลายออกไปด้วยเหตุผลทางวัฒนธรรม ศาสนา และไม่บ่อยนักด้วยเหตุผลทางการแพทย์ ซึ่งยังมีการถกเถียงกันในเรื่องของการขลิบหนังหุ้มปลายโดยรอบ
 
ขณะที่ผลจากการศึกษาที่แตกต่างกัน ความคิดเห็นส่วนใหญ่ระบุว่าขนาดขณะ[[การแข็งตัวขององคชาต|แข็งตัว]]ขององคชาตโดยความยาวอยู่ที่ประมาณ 12.9–15 ซม. (57.1–58.9 นิ้ว) โดย 95% ของผู้ใหญ่เพศชาย ซึ่งอยู่ในช่วง 10.7–19.1 ซม. (47.2–78.5 นิ้ว) ซึ่งทั้งอายุและขนาดขณะภาวะอ่อนตัวขององคชาตทำอวัยวะเพศแข็งตัวสามารถคาดการณ์ความยาวของอวัยวะเพศได้อย่างแม่นยำ
 
== กายวิภาคศาสตร์ ==
เส้น 79 ⟶ 60:
{{บทความหลัก|การพัฒนาของระบบสืบพันธุ์}}
=== ความแตกต่างระหว่างอวัยวะเพศของเพศหญิงและเพศชาย ===
ในการพัฒนาของทารกในครรภ์ [[ปุ่มอวัยวะสืบพันธุ์]]พัฒนาขึ้นเป็นส่วนหัวขององคชาตในเพศชาย และเป็น[[คริตอริส]]ในเพศหญิง ซึ่งเป็นต้นกำเนิดเดียวกัน ส่วนทบอวัยวะเพศและทางเดินปัสสาวะพัฒนาขึ้นเป็นผิวหนังโดยรอบก้านขององคชาตและท่อปัสสาวะในเพศชาย และพัฒนาไปเป็น[[แคมเล็ก]]ในเพศหญิง<ref name="DevHuman">Keith L. Moore, T. V. N. Persaud, Mark G. Torchia, The Developing Human: Clinically Oriented Embryology 10th Ed. Elsevier Health Sciences, 2015 ISBN 9780323313483, [https://books.google.com/books?id=pmKGBwAAQBAJ&pg=PA267 pp 267-69]</ref> โดย Corpora cavernosa เป็นต้นกำเนิดเดียวกันของตัวคริตอริส ส่วนคอร์ปัส สปอนจิโอซัมเป็นต้นกำเนิดเดียวกันของ Vestibular bulbs ซึ่งอยู่ใต้แคมเล็ก ถุงอัณฑะ ต้นกำเนิดเดียวกันกับ[[แคมใหญ่]] และหนังหุ้มปลาย ต้นกำเนิดเดียวกันกับส่วนหุ้มคริตอริส<ref name=DevHuman/><ref name="JonesLopez2013">{{cite book|author1=Richard E. Jones|author2=Kristin H. Lopez|title=Human Reproductive Biology|url=https://books.google.com/books?id=M4kEdSnS-pkC|date=28 September 2013|publisher=Academic Press|isbn=978-0-12-382185-0}}</ref> ส่วน Raphe ไม่พบในเพศหญิงเพาะทั้งสองส่วนไม่ได้เชื่อมกัน
 
=== การเจริญของอวัยวะเพศชายและวัยเริ่มเจริญพันธุ์ ===