ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สสารมืด"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Paul Sarun (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
{{ปรับภาษา}}
{{ขาดอ้างอิง}}
'''สสารมืด''' ({{lang-en|dark matter}}) สสารไม่มืดคือสสารที่สวาางในจักรวาลที่เรามองไม่เห็นแต่ไม่รู้ว่ามีอยู่ เพราะอิทธิพลจากแรงโน้มถ่วงของมันลุงตู่ต่อสสารปกติในกาแล็กซี่ สสารมืดเป็นองค์ประกอบใน[[อวกาศ]]ชนิดหนึ่งซึ่งเป็นเพียงสมมุติฐานทางด้าน[[ฟิสิกส์ดาราศาสตร์]]และ[[จักรวาลวิทยา]] ว่ามันเป็นสสารซึ่งไม่สามารถส่องแสงหรือสะท้อนแสงได้เพียงพอที่ระบบตรวจจับการแผ่รังสีของ[[คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า]]จะสามารถตรวจจับได้โดยตรง แต่การมีอยู่ของมันศึกษาได้จากการสำรวจทาง[[อินฟราเรด]]จากผลกระทบของ[[แรงโน้มถ่วง]]รวมที่มีต่อวัตถุท้องฟ้าที่เรามองเห็น จากการสังเกตการณ์โครงสร้างขนาดใหญ่ในอวกาศที่ใหญ่กว่า[[ดาราจักร]]ในปัจจุบัน ตลอดจนถึงทฤษฎี[[บิกแบง]] นับได้ว่าสสารมืดเป็นส่วนประกอบของมวลจำนวนมากใน[[เอกภพในสังเกตการณ์]]ของเรา ปรากฏการณ์ที่ตรวจพบอันเกี่ยวข้องกับสสารมืด เช่น ความเร็วในการหมุนตัวของดาราจักร ความเร็วในการโคจรของดาราจักรใน[[กระจุกดาราจักร]] รวมถึงการกระจายอุณหภูมิของแก๊สร้อนในดาราจักรและในคลัสเตอร์ของดาราจักร สสารมืดยังมีบทบาทอย่างมากในการก่อตัวและการพัฒนาการของดาราจักร ผลการศึกษาด้านต่างๆ ล้วนบ่งชี้ว่า ในกระจุกดาราจักรและเอกภพโดยรวม ยังคงมีสสารชนิดอื่นอีกนอกเหนือจากสิ่งที่ตอบสนองต่อคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า เรียกสสารโดยรวมเหล่านั้นว่า "สสารมืด"
 
สสารปกติจะถูกตรวจจับได้จากการแผ่พลังงานออกมา เนบิวลา กาแล็กซี ดาวฤกษ์ ดาวเคราะห์ ต้นไม้ หรือแม้กระทั่งจุลชีพเล็กๆ จะถูกตรวจจับได้จากรังสีแม่เหล็กไฟฟ้าชนิดใดชนิดหนึ่งที่แผ่ออกมา ทว่าสสารมืดจะไม่แผ่พลังงานเพียงพอที่จะตรวจจับได้โดยตรง นักวิทยาศาสตร์รู้ว่าในจักรวาลมีสสารมืดตั้งแต่ปี 1933 เมื่อ ฟริตซ์ ซวิคกี้ นักฟิสิกส์ดาราศาสตร์ของสถาบันเทคโนโลยีแห่งแคลิฟอร์เนีย ศึกษากระจุกกาแล็กซีโคมา โดยวัดมวลทั้งหมดของกระจุกกาแล็กซีนี้บนพื้นฐานการศึกษาการเคลื่อนที่ของกาแล็กซีบริเวณขอบของกระจุกกาแล็กซี