ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรงเรียนโยธินบูรณะ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 33:
}}
[[ไฟล์:New Yothinburana School.jpg|thumb|right|240px|อาคารโรงเรียนโยธินบูรณะแห่งใหม่ ซึ่งสร้างเป็นอาคารรูปทรงกรวย สูง 12 ชั้น ซึ่งทางโรงเรียนได้ย้ายการเรียนการสอนเมื่อวันจันทร์ที่ 16 พฤษภาคม 2559]]
'''โรงเรียนโยธินบูรณะ''' เป็นโรงเรียนสหศึกษาระดับ[[มัธยมศึกษา]] สังกัด[[กระทรวงศึกษาธิการ]] ก่อตั้งเมื่อวันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2478 มีนายภักดิ์ ฉวีสุข เป็นอาจารย์ใหญ่ท่านแรก (พ.ศ. 2478-2479) และนายสันทัด เมี้ยนกำเนิด เป็นผู้อำนวยการท่านแรก (พ.ศ. 2513-2519) เดิมตั้งอยู่เลขที่ 1162 แยกเกียกกาย ถนนสามเสน แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร แต่ต่อมาพื้นที่บริเวณดังกล่าวถูกใช้ในการก่อสร้าง[[สัปปายะสภาสถาน]]ซึ่งเป็นอาคารรัฐสภาแห่งใหม่ จึงได้ย้ายมาทำการเรียนการสอนบนที่ตั้งแห่งใหม่ที่เลขที่ 1313 [[ถนนประชาราษฎร์]] สาย 1 แขวงบางซื่อ [[เขตบางซื่อ]] [[กรุงเทพมหานคร]]
[[ไฟล์:K11820244-16.jpg|thumb|right|240px|อาคารสิรินธร โรงเรียนโยธินบูรณะเดิม ก่อนย้ายการเรียนการสอนไปยังโรงเรียนแห่งใหม่]]
'''โรงเรียนโยธินบูรณะ''' เป็นโรงเรียนสหศึกษาระดับ[[มัธยมศึกษา]] สังกัด[[กระทรวงศึกษาธิการ]] ปัจจุบันตั้งอยู่เลขที่ 1313 ถนนประชาราษฎร์ สาย 1 แขวงบางซื่อ [[เขตบางซื่อ]] [[กรุงเทพมหานคร]] 10800 ก่อตั้งเมื่อวันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2478 มีนายภักดิ์ ฉวีสุข เป็นอาจารย์ใหญ่ท่านแรก (พ.ศ. 2478-2479) และนายสันทัด เมี้ยนกำเนิด เป็นผู้อำนวยการท่านแรก (พ.ศ. 2513-2519)
ผู้อำนวยการคนปัจจุบันคือ นายอดิศักดิ์ วิไลลักษณ์
ผู้อำนวยการเชี่ยวชาญ
 
เมื่อวันที่ [[29 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2551]] คณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบ อนุมัติงบประมาณประจำปี พ.ศ. 2552 เป็นเงิน 12,000 ล้านบาท เพื่อก่อสร้าง[[สัปปายะสภาสถาน|อาคารรัฐสภา]]แห่งใหม่ บนพื้นที่ 119 ไร่ ริม[[แม่น้ำเจ้าพระยา]] ย่าน[[เกียกกาย]] จึงทำให้สถานที่ราชการต่างๆ ในบริเวณนั้นจะต้องย้ายไปรวมถึงพื้นที่ของโรงเรียนโยธินบูรณะด้วย แต่ว่าทางรัฐบาลไทยในสมัยนาย[[สมัคร สุนทรเวช]]ได้สร้างโรงเรียนโยธินบูรณะแห่งใหม่ให้แทน โดยได้เริ่มการเรียนการสอน ณ โรงเรียนแห่งใหม่ ในวันที่ 16 พฤษภาคม 2559
 
== ประวัติโรงเรียน ==
เส้น 45 ⟶ 40:
 
จากนั้น รองหัวหมื่นพระอนุวัฒน์ราชนิยม (ฮง เตชะวณิช) ได้กราบบังคมทูลอัญเชิญ'''[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]]''' เสด็จพระราชดำเนินมาทรงเป็นประธานในพิธีเปิดโรงเรียน ซึ่งยังคงความปลาบปลื้มปิติเป็นล้นพ้นแก่คณะครูและนักเรียนของโรงเรียนนี้ พระราชดำรัสตอนหนึ่งในพิธีเปิดโรงเรียน
{{คำพูด|...ข้าพเจ้ามีความพอใจเป็นอันมากที่ได้รับเชิญไปยังโรงเรียนนี้ และได้มีโอกาสขอบใจ'''พระอนุวัฒน์ราชนิยม'''แทนกระทรวงธรรมการ ผู้เป็นเจ้าหน้าที่ และ'''โรงเรียนนี้ข้าพเจ้าได้รับไว้เป็นสถานศึกษาต่อไป''' อีกทั้งยังขอบใจแทนในนามกุลบุตรทั้งหลายบรรดาผู้ที่จะได้รับวิชาความรู้ไปเป็นประโยชน์แก่ตัวต่อไปในภายภาคหน้า และขอขอบใจแทนผู้มีหน้าที่ปกครองชาติ ที่ชาติไทยจะได้มีโอกาสได้พ่อเมืองสืบไป จากนักเรียนที่ได้ศึกษาในโรงเรียน}}
 
ต่อมาเมื่อชุมชนรอบ ๆ ขยายตัวขึ้น ความหนาแน่นของประชากรในท้องที่บางซื่อมีมากขึ้น โรงเรียนเดิมคับแคบ ไม่เหมาะสมที่จะขยายเป็นโรงเรียนขนาดใหญ่ได้ '''คุณครูภักดิ์ ฉวีสุข'''ครูใหญ่โรงเรียนมัธยมวัดสะพานสูง (อนุวัฒน์ศึกษาคาร) จึงได้ไปปรึกษากับ '''หลวงสุนทรอัศวราช''' (เลขานุการประจำตัว[[จอมพล ป. พิบูลสงคราม|หลวงพิบูลสงคราม]] และผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม) ซึ่งเป็นที่รู้จักและคุ้นเคยและได้รับคำแนะนำให้ทำรายงานเสนอต่ออำมาตย์ตรี '''หลวงพิลาศวรรณสาร''' (พนักงานตรวจการศึกษาแขวงพระนครเหนือ) สนองต่อ[[กระทรวงธรรมการ]]ดำเนินการเจรจาขอที่ดิน 3 แห่งจาก[[กระทรวงกลาโหม]] คือ
เส้น 53 ⟶ 47:
# ที่ดินระหว่างถนนสะพานแก้ว (ถนนสามเสน กับโรงเลื่อยล่ำซำ{โรงเลื่อยไม้ไทยในปัจจุบัน}) ตรงข้ามกรมทหารม้ารักษาพระองค์
 
ในที่สุดกระทรวงกลาโหม (สมัยพันเอกหลวงพิบูลสงคราม รักษาการแทนปลัดกระทรวงกลาโหม) ได้รับอนุญาตให้กระทรวงธรรมกาปลูกสร้างโรงเรียนได้บริเวณฝ่ายซ้ายของถนนสะพานแก้ว ตรงข้ามกรมทหารพันม้า (กรมทหารม้ารักษาพระองค์) โดยมีเนื้อที่ประมาณ 9 [[ไร่]]เศษ เมื่อวันที่ [[29 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2477]]
 
=== โยธินบูรณะ ===
ต่อมาเจ้าหน้าที่กระทรวงธรรมการเสนอว่าที่ดินแปลงนี้กว้างขวาง ตั้งอยู่ในทำเลระหว่างกลางจากโรงเรียนวัดสะพานสูง และโรงเรียนมัธยมวัดจันทร์สโมสร จึงเห็นสมควรที่จะย้ายนักเรียนทั้ง 2 แห่งมารวมกัน เปิดสอนถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 และต่อมาได้ขยายชั้นเรียนจนถึงระดับมัธยมบริบูรณ์ (ม.8 หรือ ม.ศ.5 ปัจจุบันคือมัธยมศึกษาปีที่ 6) ด้วยเหตุที่ย้ายนักเรียนจากทั้งสองแห่งมาเรียนรวมกันในสถานที่แห่งใหม่ ซึ่งได้อาศัยที่ดินของกระทรวงกลาโหม และตั้งอยู่ระหว่างกองทหารหลายหน่วยงานอีกทั้งโรงเรียนและชุมชนในเขตทหารได้มีการช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกัน พร้อมกันนั้นได้ตั้งชื่อโรงเรียนแห่งใหม่นี้ว่า '''โรงเรียนมัธยมโยธินบูรณะ''' ส่วนอาจารย์ใหญ่นั้นคือ คุณครูภักดิ์ ฉวีสุข ผู้ที่ได้ออกความคิดเห็นที่จะย้ายเป็นคนแรก อาคารเรียนเป็นอาคารเรือนไม้ 3 ชั้น ชั้นละ 7 ห้อง รวม 21 ห้อง อนุมัติเมื่อวันที่ [[26 มกราคม]] [[พ.ศ. 2477]] เริ่มทำการก่อสร้างเมื่อวันที่ [[6 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2477]] โดยโรงเรียนเพาะช่างเป็นผู้ดำเนินการในราคาทั้งสิ้น 21,000 บาท และต่อมาได้เปลี่ยนชื่อโรงเรียนอีกครั้งเป็น '''โรงเรียนโยธินบูรณะ''' สืบมาจนปัจจุบัน
 
ทำการเปิดเรียนเป็นปฐมฤกษ์ เมื่อวันที่ [[20 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2478]] โรงเรียนมัธยมโยธินบูรณะแรกเริ่มเป็นนักเรียนชายล้วน จำนวน 516 คน ครู 22 คน จำนวนห้องเรียน 18 ห้อง เปิดสอนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึงมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปัจจุบันโรงเรียนโยธินบูรณะเป็นโรงเรียนสหศึกษา โดยเริ่มรับนักเรียนหญิงในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในปีการศึกษา 2538 และรับนักเรียนหญิงในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นในปีการศึกษา 2541
 
* ในปี [[พ.ศ. 2541]] โรงเรียนโยธินบูรณะได้มีมติเปิดการเรียนหลักสูตร[[กระทรวงศึกษาธิการ]]ในภาษาอังกฤษ หรือโครงการภาคภาษาอังกฤษ (EP : English Program) เป็นโรงเรียนแรกใน[[ประเทศไทย]]
 
* ในปี [[พ.ศ. 2553]] โรงเรียนโยธินบูรณะได้มีมติเปิดการเรียนหลักสูตรของ[[มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์|เคมบริดจ์]] หรือโครงการนานาชาติ (YBIP : Yothinburana International Program) เป็นโรงเรียนแรกในประเทศไทย
 
* ในปี [[พ.ศ. 2556]] โรงเรียนโยธินบูรณะได้มีมติเปิดการเรียนหลักสูตรในภาคปกติ (SMP : Science Math Program) หรือห้องพิเศษอัจฉริยภาพทางคณิตศาสตร์-วิทยาศาสตร์
 
โรงเรียนโยธินบูรณะในปัจจุบัน มุ่งมั่นจัดระบบการศึกษาให้ผู้เรียนมีความรู้คู่คุณธรรม สู่คูณภาพมาตรฐานสากล ปัจจุบันโรงเรียนโยธินบูรณะเป็นโรงเรียนสหศึกษา มีนักเรียนทั้งชาย และหญิงทุกระดับชั้น โดยเปิดสอนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6
 
{{คำพูด|...ข้าพเจ้ามีความพอใจเป็นอันมากที่ได้รับเชิญไปยังโรงเรียนนี้ และได้มีโอกาสขอบใจ'''พระอนุวัฒน์ราชนิยม'''แทนกระทรวงธรรมการ ผู้เป็นเจ้าหน้าที่ และ'''โรงเรียนนี้ข้าพเจ้าได้รับไว้เป็นสถานศึกษาต่อไป''' อีกทั้งยังขอบใจแทนในนามกุลบุตรทั้งหลายบรรดาผู้ที่จะได้รับวิชาความรู้ไปเป็นประโยชน์แก่ตัวต่อไปในภายภาคหน้า และขอขอบใจแทนผู้มีหน้าที่ปกครองชาติ ที่ชาติไทยจะได้มีโอกาสได้พ่อเมืองสืบไป จากนักเรียนที่ได้ศึกษาในโรงเรียน}}
 
เมื่อวันที่ [[29 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2551]] คณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบ ให้อนุมัติงบประมาณประจำปี พ.ศ. 2552 เป็นเงิน 12,000 ล้านบาท เพื่อก่อสร้างอาคารรัฐสภาแห่งใหม่ในชื่อ [[สัปปายะสภาสถาน|อาคารรัฐสภา]]แห่งใหม่ บนพื้นที่ 119 ไร่ ริม[[แม่น้ำเจ้าพระยา]] ย่านบริเวณมุมตะวันตกเฉียงใต้ของ[[แยกเกียกกาย]] จึงทำให้สถานที่ราชการต่างๆ ในบริเวณนั้นจะต้องย้ายออกไป ซึ่งรวมถึงพื้นที่ของโรงเรียนโยธินบูรณะด้วย แต่ว่าทางรัฐบาลไทยในสมัยนาย[[สมัคร สุนทรเวช]] ได้มอบพื้นที่บน[[ถนนประชาราษฎร์]] สาย 1 ห่างจากที่ตั้งเดิมประมาณ 2 กิโลเมตร สร้างเป็นโรงเรียนโยธินบูรณะแห่งใหม่ให้แทน โดยได้เริ่มการเรียนการสอน ณ โรงเรียนในพื้นที่แห่งใหม่ ในวันที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2559
โรงเรียนโยธินบูรณะในปัจจุบัน มุ่งมั่นจัดระบบการศึกษาให้ผู้เรียนมีความรู้คู่คุณธรรม สู่คูณภาพมาตรฐานสากล ปัจจุบันโรงเรียนโยธินบูรณะเป็นโรงเรียนสหศึกษามีนักเรียนทั้งชาย และหญิงทุกระดับชั้น โดยเปิดสอนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-6
 
== ข้อพิพาทในส่วนการบริหารงาน ==