ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประเทศภูฏาน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Hakim dorloh (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Hakim dorloh (คุย | ส่วนร่วม)
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 78:
* สมาชิก 106 คน มาจากการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชน
* สมาชิก 55 คน มาจากการแต่งตั้งของพระมหากษัตริย์
ในสมัยศตวรรษที่ 17 ลามะ ซับดุง นาวัง นำเกล (Zhabdrung Ngawang Namgyal Rama) ได้รวบรวมภูฏานให้เป็นปึกแผ่นและก่อตั้งเป็นประเทศขึ้น และในปี 2194 ลามะ ซับดุง ได้ริเริ่มการบริหาร[[ประเทศ]]แบบสองระบบ คือ แยกเป็นฝ่ายฆราวาสและฝ่ายสงฆ์ ภูฏานใช้ระบบการปกครองดังกล่าวมาเป็นเวลากว่าสองศตวรรษ จนกระทั่งเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2450 พระคณะ[[ที่ปรึกษาแห่งรัฐ]] ผู้ปกครองจาก[[มณฑล]]ต่าง ๆ ตลอดจนตัวแทนประชาชนได้มารวมตัวกันที่เมืองพูนาคา และทำการเลือกอย่างเป็นเอกฉันท์ให้ [[สมเด็จพระราชาธิบดีอูเก็น วังชุก]] ([[King Ugyen Wangchuck]]) ซึ่งขณะนั้นเป็นผู้ปกครองเมือง[[ทรองซา]] ([[Trongsa]]) ขึ้นเป็นกษัตริย์องค์แรกของภูฏาน โดยดำรงตำแหน่งเป็น[[สมเด็จพระราชาธิบดีพระองค์แรกแห่งราชวงศ์วังชุก]] (Wangchuck Dynasty) ในปี พ.ศ. 2450 เนื่องจากคุณสมบัติที่โดดเด่นของพระองค์ตั้งแต่ครั้งยังทรงดำรงตำแหน่งเป็นผู้ปกครองเมืองทรองซา ทรงมีลักษณะความเป็นผู้นำ และเป็นผู้นำที่เคร่งศาสนา และมีความตั้งพระทัยแน่วแน่ที่จะยกระดับความเป็นอยู่ของประชาชนให้ดีขึ้น ราชวงศ์วังชุกปกครองประเทศภูฏานมาจนถึงปัจจุบัน[[สมเด็จพระราชาธิบดีองค์ปัจจุบันทรงเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 5]] คือ [[สมเด็จพระราชาธิบดีจิกมี เคเซอร์ นัมเกล วังชุก]] ([[King Jigme Khesar Namgyal Wangchuck][]) ขึ้นครองราชสมบัติเมื่อวันที่ [[16 ธันวาคม 2549]] เป็นสมเด็จพระราชาธิบดี[[พระองค์ที่ 5]] แห่ง[[ราชวงศ์วังชุก]]
 
ภูฏานจัดการเลือกตั้งทั่วไปขึ้นครั้งแรกในวันที่ [[24 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2551]] มีพรรคการเมืองสองพรรค