ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จังหวัดยะลา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 149:
== ประชากร ==
=== ชาติพันธุ์ ===
ประชากรส่วนใหญ่ของจังหวัดยะลาเป็น[[ชาวไทยเชื้อสายมลายู]]เป็นพื้น ในอดีตจะถูกเรียกอย่างรวม ๆ กับ[[ชาวชวา]]-[[ชาวมลายู|มลายู]]ทั่วไปว่าคนยาวี (Orang Jawi)<ref name="กัณหา">{{cite web |url= https://www.isranews.org/south-news/Academic-arena/45-2009-11-15-11-18-09/4962-มลายู-ยาวี-เรียกอย่างไรดี?.html |title= มลายู-ยาวี เรียกอย่างไรดี? |author= กัณหา แสงรายา |date= 14 มกราคม 2555 |work= อิศรา |publisher=|accessdate= 15 กรกฎาคม 2562 }}</ref> แต่จะเรียกตัวเองว่าออแฆนายู และพึงใจที่ผู้อื่นเรียกว่าคนนายูมากกว่าคนยาวี<ref>{{cite web |url= http://lek-prapai.org/home/view.php?id=131 |title= คนตานี … มลายูมุสลิมที่ถูกลืม |author= วลัยลักษณ์ ทรงศิริ |date= 26 พฤษภาคม 2559 |work= มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์ |publisher=|accessdate= 13 กรกฎาคม 2562 }}</ref> เมื่อ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2482 ในสมัย[[หลวงพิบูลสงคราม]]เป็นนายกรัฐมนตรีได้ออกประกาศสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยรัฐนิยมฉบับที่ 3 เรื่องการเรียกชื่อชาวไทยโดยให้เรียกชาวมลายูมุสลิมว่าไทยอิสลาม<ref>{{cite web |url= https://www.silpa-mag.com/history/article_6791 |title= แขกตานี |author= อัฮหมัด สมบูรณ์ บัวหลวง |date= 27 กุมภาพันธ์ 2560 |work= ศิลปวัฒนธรรม |publisher=|accessdate= 15 กรกฎาคม 2562 }}</ref> และปัจจุบันทางราชการของไทยยังคงเรียกคนเชื้อสายมลายูว่าคนไทยหรือไทยมุสลิมอยู่<ref>{{cite web |url= https://www.isranews.org/content-page/67-south-slide/3037-คำเรียก-มลายู-มลายูมุสลิม-ไทย-ไทยมุสลิม-ไทยมลายู-และ-แขก-ในสังคมไทย-(1).html |title= คำเรียก มลายู มลายูมุสลิม ไทย ไทยมุสลิม ไทยมลายู และ 'แขก' ในสังคมไทย (1) |author= กัณหา แสงรายา |date= 3 สิงหาคม 2554 |work= อิศรา |publisher=|accessdate= 15 กรกฎาคม 2562 }}</ref> นอกจากนั้นก็จะมี[[ชาวไทย|ชาวไทยพุทธ]]และ[[ชาวไทยเชื้อสายจีน]]เป็นชนกลุ่มน้อย อาศัยอยู่ตามเมืองใหญ่ ๆ โดยเฉพาะ[[อำเภอเบตง]]ถือเป็นชุมชนชาวจีนที่มีขนาดใหญ่และเข้มแข็ง สามารถคงอัตลักษณ์ความเป็นจีนไว้อย่างเหนียวแน่น<ref name="ณัฐธิดา" >{{cite web |url= http://furd-rsu.org/?page_id=2382 |title= เมืองเบตง : คนไทยเชื้อสายจีนที่เข้มแข็ง |author= ณัฐธิดา เย็นบำรุง |date=|work= ศูนย์ศึกษามหานครและเมือง |publisher=|accessdate= 10 กรกฎาคม 2562 }}</ref> โดยมากเป็นชาวจีนกวางไส บรรพบุรุษอพยพจาก[[เขตปกครองตนเองกว่างซีจ้วง]]<ref>{{cite web |url= https://siamrath.co.th/n/56824 |title= ตามรอยจีนกวางไสในเบตง (1) |author= ชุมศักดิ์ นรารัตน์วงศ์ |date= 14 ธันวาคม 2561 |work= สยามรัฐออนไลน์ |publisher=|accessdate= 10 กรกฎาคม 2562 }}</ref> ส่วนชาวไทยเชื้อสายจีนในเทศบาลนครยะลาโดยมากเป็น[[ชาวฮกเกี้ยน]]<ref>วลัยลักษณ์ ทรงศิริ. "แผ่นดินภายใน". ''ยาลอเป็นยะลา ความเปลี่ยนแปลงของบ้านเมืองและคนรุ่นใหม่ในเมืองและปริมณฑลเมืองยะลา'', หน้า 90</ref> ขณะที่ชาวไทยพุทธมีอยู่หนาแน่นในเขต[[เทศบาลนครยะลา]]<ref>{{cite web |url= http://www.timenews2017.net/archives/52654 |title= ยะลา-คุมเข้มทุกพื้นที่หลังคนร้ายก่อเหตุยิงคนไทย-พุทธ |author= |date= 7 กรกฎาคม 2562 |work= .timenews2017 |publisher=|accessdate= 12 กรกฎาคม 2562 }}</ref> แต่ระยะหลังเมื่อเกิด[[ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย|เหตุการณ์ความไม่สงบในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้]] ทำให้ชาวไทยเชื้อสายจีนและชาวไทยพุทธอพยพออกจากพื้นที่เป็นจำนวนมาก<ref name="ประชาไท" >{{cite web |url= https://prachatai.com/journal/2014/04/52595 |title= ไทยพุทธที่ชายแดนภาคใต้ (ตอน 1) : การตื่นตัวที่สายเกิน? |author=|date= 4 เมษายน 2557 |work= ประชาไท |publisher=|accessdate= 10 กรกฎาคม 2562 }}</ref><ref name="ไทยรัฐ">{{cite web |url= https://www.thairath.co.th/news/local/south/1388456 |title= ฟิต! มทภ.4 ลงพบชาวไทยพุทธยะลา รับปากพร้อมแก้ปัญหา จชต. |author=|date= 2 ตุลาคม 2561 |work= ไทยรัฐออนไลน์ |publisher=|accessdate= 12 กรกฎาคม 2562 }}</ref><ref name="ไทยพีบีเอส">{{cite web |url= https://news.thaipbs.or.th/content/214246 |title= ชุมชนชาวไทยพุทธในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ |author=|date= 29 ธันวาคม 2556 |work= ไทยพีบีเอส |publisher=|accessdate= 12 กรกฎาคม 2562 }}</ref> เช่นชุมชนชาวจีนที่บ้านเนียง [[อำเภอเมืองยะลา]] และชุมชนจีนบ้านแบหอ [[อำเภอรามัน]] ที่ลูกหลานโยกย้ายออกจากถิ่นฐานเดิมจนสิ้น<ref>ทรัยนุง มะเด็ง และอื่น ๆ. "ในท้องถิ่นยาลอ". ''ยาลอเป็นยะลา ความเปลี่ยนแปลงของบ้านเมืองและคนรุ่นใหม่ในเมืองและปริมณฑลเมืองยะลา'', หน้า 204</ref><ref>{{cite web |url= http://spmcnews.com/?p=15332 |title= ยะลาเปิดงานสมโภช แห่พระลุยไฟศาลเจ้าแม่มาผ่อ สร้างความสัมพันธ์พหุวัฒนธรรมไทยจีนไทยพุทธและมุสลิม |author=|date= 16 เมษายน 2562 |work= SPM Online |publisher=|accessdate= 12 กรกฎาคม 2562 }}</ref>
 
ขณะที่[[ซาไก|ชาวซาไก]]เผ่ากันซิวและจำนวนน้อยเป็นเผ่ากินตัก<ref>{{cite web |url= https://www.sac.or.th/databases/ethnicredb/research_detail.php?id=696 |title= เงาะป่า-ซาไก นิเชาเมืองไทย ชนป่าที่กำลังสูญสลาย |author= วันเฉลิม จันทรากุล |date= 2544 |work= ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) |publisher=|accessdate= 14 กรกฎาคม 2562 }}</ref> ซึ่งเคยตั้งถิ่นฐานในเขตหมู่ 3 ตำบลบ้านแหร [[อำเภอธารโต]] แต่ปัจจุบันส่วนใหญ่อพยพไปประเทศมาเลเซีย ด้วยเหตุผลด้านที่ทำกินและวิถีชีวิตที่ดีกว่า ประกอบกับเหตุผลด้านความไม่สงบ<ref name="ธาร">{{cite press release |title=