ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาวะคู่หรือคี่ของ 0"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 8399473 สร้างโดย 2403:6200:8822:3839:BCF3:D736:E7FD:3D4 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 1:
{{บทความคัดสรร}}
[[ไฟล์:Scale_of_justice_2.svg|thumb|alt=Empty balance scale|ตาชั่งนี้มีวัตถุ 0 วัตถุ แบ่งเป็นสองข้างเท่ากัน]]
'''[[123450]]''' (ศูนย์) เป็น[[จำนวนคู่]] กล่าวได้อีกอย่างคือ '''[[ภาวะคู่หรือคี่ (คณิตศาสตร์)|ภาวะคู่หรือคี่]]'''ของ 0 เป็นคู่ วิธีพิสูจน์ว่า 0 เป็นคู่ง่ายที่สุดคือตรวจสอบว่า 0 เข้ากับนิยามีของ "คู่" หรือไม่ โดย 0 เป็น[[พหุคูณ]]ของ [[2]] คือ 0 × 2 ผลคือ ศูนย์มีคุณสมบัติทั้งหมดอันเป็นลักษณะของจำนวนคู่ ตัวอย่างเช่น 0 มี[[จำนวนคี่]]ที่มากกว่าและน้อยกว่าขนาบ, <math>0+x</math> มีภาวะคู่หรือคี่เหมือน <math>x</math> และ[[เซต (คณิตศาสตร์)|เซต]]ของวัตถุ 0 วัตถุสามารถแบ่งได้เป็นสองเซตเท่า ๆ กัน
 
0 ยังเข้ากับแบบรูปที่จำนวนคู่อื่นมี กฎ[[เลขคณิต]]ภาวะคู่หรือคี่ เช่น คู่ − คู่ = คู่ กำหนดให้ 0 เป็นคู่ 0 เป็น[[สมาชิกเอกลักษณ์]]การบวกของ[[กรุป (คณิตศาสตร์)|กรุป]]จำนวนเต็มคู่ และเป็นกรณีตั้งต้นที่[[บทนิยามเวียนเกิด|นิยามเวียนเกิด]]ซึ่ง[[จำนวนธรรมชาติ]]คู่อื่น การใช้การเวียนเกิดนี้จาก[[ทฤษฎีกราฟ]]จนถึง[[เรขาคณิตการคณนา]]ต้องอาศัยว่า 0 เป็นคู่ ไม่เพียงแต่ 0 หารด้วย 2 ลงตัวเท่านั้น แต่ยังสามารถหารด้วย[[กำลัง 2]] ลงตัวทุกจำนวน ซึ่งเกี่ยวข้องกับ[[ระบบเลขฐานสอง]]ที่คอมพิวเตอร์ใช้