ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิกิพีเดีย:การจัดหมวดหมู่"

ไม่มีคำอธิบายอย่างย่อ
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 9:
 
== การจัดเข้าหมวดหมู่ ==
หน้าวิกิพีเดียทุกหน้าควรอยู่ในหมวดหมู่อย่างน้อยหนึ่งหมวดหมู่ ทั้งนี้ ยกเว้นหน้าคุย หน้าเปลี่ยนทาง หรือหน้าผู้ใช้ซึ่งไม่จำเป็นต้องจัดเข้าหน้าหมวดหมู่ แต่อาจจัดเข้าหมวดหมู่ได้ตามความเหมาะสม นอกจากนี้ หน้าที่จัดเข้าหมวดหมู่แล้วยังควรจัดอยู่ในหมวดหมู่ที่เจาะจงที่สุดทั้งหมดตามตรรกะ หมายความว่า ถ้าหน้าหนึ่งจัดอยู่ในหมวดหมู่ย่อยของ ค. (หรือหมวดหมู่ย่อยของหมวดหมู่ย่อย ค. เป็นต้น) เช่นนั้น หน้าดังกล่าวก็ไม่ควรจัดเข้าหมวดหมู่ ค. โดยตรง {{efn|
 
แม้ปกติหมวดหมู่ควรชัดเจนจากชื่อของหมวดหมู่ที่มีอยู่แล้วซึ่งควรจัดหน้านั้นเข้าไป แต่บางทีข้อความของหน้าหมวดหมู่อาจให้สารสนเทศเพิ่มเติมหรือเนื้อหาหมวดหมู่ที่อาจมีได้ การตัดสินว่ามีหมวดหมู่ที่เหมาะสมสำหรับหน้าใดหน้าหนึ่งแล้วหรือยังทางหนึ่งนั้นคือการตรวจสอบหมวดหมู่ของหน้าที่มีหัวข้อคล้ายกันหรือเกี่ยวข้องกัน อีกทางหนึ่งคือการค้นหาชื่อหมวดหมู่ที่มีอยู่แล้วดังที่อธิบายไว้ใน [[วิธีใช้:การค้นหา]] โดยใช้กล่องบนขวาของหน้า เนื่องจากทุกหมวดหมู่เป็นส่วนหนึ่งของลำดับชั้น '''ห้าม'''ใส่หมวดหมู่ในหน้าราวกับว่าเป็นป้ายระบุ (tag)
 
=== บทความ ===
การจัดหมวดหมู่ของบทความต้องสามารถพิสูจน์ยืนยันได้ ควรชัดเจนจากสารสนเทศที่พิสูจน์ยืนยันได้ในบทความว่าเหตุใดบทความนี้จึงจัดอยู่ในทุกหมวดหมู่ การจัดหมวดหมู่ที่ไม่ผ่านเกณฑ์ดังกล่าวอาจถูกลบออก
 
การจัดหมวดหมู่จะต้องรักษามุมมองที่เป็นกลางด้วย เพราะการจัดหมวดหมู่ปรากฏในหน้าบทความโดยไม่มีความเห็นประกอบหรือการอ้างอิงเพื่อให้เหตุผลหรืออธิบายการใส่นั้น ผู้เขียนควรมีสำนึกถึงความจำเป็นในการรักษามุมมองที่เป็นกลางเมื่อสร้างหมวดหมู่หรือเพิ่มหมวดหมู่ในบทความ การจัดหมวดหมู่โดยทั่วไปไม่ควรเป็นที่โต้เถียง ถ้าหัวข้อของหมวดหมู่น่าจะก่อให้เกิดข้อถกเถียงอย่างมาก ควรใช้บทความรายการแทนดีกว่า (เพราะสามารถให้ความเห็นประกอบและใส่อ้างอิงได้) ตัวอย่างเช่น นักการเมืองที่ยังไม่ต้องโทษฐานอาชญากรรมใด ๆ ไม่ควรใส่เข้าหมวดหมู่อาชญากร เป็นต้น
 
== เมื่อไรที่ควรจัดหมวดหมู่ ==
ทุกหน้าในวิกิพีเดียควรมีหมวดหมู่อย่างน้อย 1 หมวดหมู่ เพื่อเป็นประโยชน์สำหรับผู้อ่านบทความนั้น
 
: ''' บทความ:''' [[ภราดร ศรีชาพันธุ์]]
: ''' ควรจัดในหมวดหมู่:''' [[:หมวดหมู่:นักเทนนิส]]
Line 36 ⟶ 25:
* ใส่หมวดหมู่เป็น [[:หมวดหมู่:เว็บเบราว์เซอร์]] และ [[:หมวดหมู่:ซอฟต์แวร์เสรี]]
* ไม่ควรใส่ [[:หมวดหมู่:ซอฟต์แวร์]] [[:หมวดหมู่:คอมพิวเตอร์]]
เพราะ เว็บเบราว์เซอร์เป็นส่วนหนึ่งของซอฟต์แวร์ และซอฟต์แวร์เป็นส่วนหนึ่งของคอมพิวเตอร์ อีกทอดหนึ่ง}}
 
แม้ปกติหมวดหมู่ควรชัดเจนจากชื่อของหมวดหมู่ที่มีอยู่แล้วซึ่งควรจัดหน้านั้นเข้าไป แต่บางทีข้อความของหน้าหมวดหมู่อาจให้สารสนเทศเพิ่มเติมหรือเนื้อหาหมวดหมู่ที่อาจมีได้ การตัดสินว่ามีหมวดหมู่ที่เหมาะสมสำหรับหน้าใดหน้าหนึ่งแล้วหรือยังทางหนึ่งนั้นคือการตรวจสอบหมวดหมู่ของหน้าที่มีหัวข้อคล้ายกันหรือเกี่ยวข้องกัน อีกทางหนึ่งคือการค้นหาชื่อหมวดหมู่ที่มีอยู่แล้วดังที่อธิบายไว้ใน [[วิธีใช้:การค้นหา]] โดยใช้กล่องบนขวาของหน้า เนื่องจากทุกหมวดหมู่เป็นส่วนหนึ่งของลำดับชั้น '''ห้าม'''ใส่หมวดหมู่ในหน้าราวกับว่าเป็นป้ายระบุ (tag)
===การจัดหมวดหมู่สำหรับบทความชีวประวัติ===
 
การแบ่งหมวดหมู่ของบุคคลใช้คำว่า "ชาว" นำหน้า เช่น ชาวไทย ชาวญี่ปุ่น ชาวจีน ชาวอังกฤษ และอาจมีการแบ่งหมวดหมู่ย่อยลงไปถ้าหมวดหมู่นั้นมีบทความมากระดับนึง เช่น นักการเมืองชาวไทย นักดนตรีชาวญี่ปุ่น ฯลฯ โดยแบ่งแยกหมวดหมู่ ในปัจจุบันมี 2 ลักษณะหลักคือ แบ่งตามเชื้อชาติ และ แบ่งตามอาชีพ ก่อนการจะสร้างหมวดหมู่ของบุคคลแบ่งตามเชื้อชาติ ดูที่ [[:หมวดหมู่:บุคคลแบ่งตามเชื้อชาติ]] สำหรับหมวดหมู่ย่อยที่มีการสร้างไว้แล้ว
=== บทความ ===
การจัดหมวดหมู่ของบทความต้องสามารถพิสูจน์ยืนยันได้ ควรชัดเจนจากสารสนเทศที่พิสูจน์ยืนยันได้ในบทความว่าเหตุใดบทความนี้จึงจัดอยู่ในทุกหมวดหมู่ การจัดหมวดหมู่ที่ไม่ผ่านเกณฑ์ดังกล่าวอาจถูกลบออก
 
การจัดหมวดหมู่จะต้องรักษามุมมองที่เป็นกลางด้วย เพราะการจัดหมวดหมู่ปรากฏในหน้าบทความโดยไม่มีความเห็นประกอบหรือการอ้างอิงเพื่อให้เหตุผลหรืออธิบายการใส่นั้น ผู้เขียนควรมีสำนึกถึงความจำเป็นในการรักษามุมมองที่เป็นกลางเมื่อสร้างหมวดหมู่หรือเพิ่มหมวดหมู่ในบทความ การจัดหมวดหมู่โดยทั่วไปไม่ควรเป็นที่โต้เถียง ถ้าหัวข้อของหมวดหมู่น่าจะก่อให้เกิดข้อถกเถียงอย่างมาก ควรใช้บทความรายการแทนดีกว่า (เพราะสามารถให้ความเห็นประกอบและใส่อ้างอิงได้) ตัวอย่างเช่น นักการเมืองที่ยังไม่ต้องโทษฐานอาชญากรรมใด ๆ ไม่ควรใส่เข้าหมวดหมู่อาชญากร เป็นต้น
 
== เมื่อไรที่ไม่ควรจัดหรือสร้างหน้าหมวดหมู่ ==
Line 95 ⟶ 88:
== การเชื่อมโยงหมวดหมู่ไปที่หมวดหมู่ภาษาอื่น ==
การเชื่อมโยงหมวดหมู่ไปที่หมวดหมู่ภาษาอื่นทำได้เหมือนการเชื่อมโยงบทความไปภาษาอื่นโดยใช้[[วิกิพีเดีย:วิกิสนเทศ|วิกิสนเทศ]] ประโยชน์ในการอ้างอิงถึงหมวดหมู่หลักและหมวดหมู่ย่อยที่ควรจะมี อย่างไรก็ตามในแต่ละภาษาอาจมีการจัดหมวดหมู่ที่เหมาะสมแตกต่างกันไป โดยหมวดหมู่ในภาษาหนึ่งอาจจะไม่ควรเป็นหมวดหมู่ในภาษาอื่น
 
== เชิงอรรถ ==
{{Notelist}}
 
== ดูเพิ่ม ==
10,250

การแก้ไข