ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mr.BuriramCN (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 8396891 สร้างโดย 182.232.130.247 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 53:
}}
 
'''รถไฟฟ้าเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา สาย 78961''' หรือ '''รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท''' หรือ '''รถไฟฟ้าสายสีเขียวอ่อน''' เป็นส่วนหนึ่งของ[[โครงข่ายระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในกรุงเทพมหานครและพื้นที่ต่อเนื่อง|แผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทางราง ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล]] โดยจะครอบคลุมพื้นที่[[กรุงเทพมหานคร]], [[จังหวัดปทุมธานี]] และ[[จังหวัดสมุทรปราการ]] เปิดให้บริการครั้งแรกในปี พ.ศ. 2542 ระยะทาง 17 กิโลเมตร ต่อมาในปี พ.ศ. 2554 ได้เปิดใช้งานส่วนต่อขยาย อ่อนนุช-แบริ่ง พ.ศ. 2560 ได้เปิดใช้งานส่วนต่อขยายไปจนถึงสำโรง และปี พ.ศ. 2561 ได้เปิดใช้งานส่วนต่อขยายไปจนถึงสมุทรปราการ สามารถเชื่อมต่อกับ[[รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสีลม|สายสีลม]] ที่[[สถานีสยาม]]
 
{{TOC limit|3}}
 
== ภาพรวม ==
รถไฟฟ้าบีทีเอส สายสุขุมวิท เป็นระบบรถไฟฟ้าที่มีโครงสร้างเป็นทางยกระดับเหนือพื้นดินตลอดโครงการ ดำเนินการโดย บริษัท ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) หรือ BTSC ซึ่งเป็นบริษัทลูกของ[[บีทีเอส กรุ๊ป โฮลดิ้งส์|กลุ่มบริษัท บีทีเอส กรุ๊ป โฮลดิ้งส์]] ที่ได้รับสัมปทานโครงการภายในกรอบระยะเวลา 30 ปีจากกรุงเทพมหานคร และ บริษัท กรุงเทพธนาคม จำกัด ซึ่งเป็นรัฐวิสาหกิจของกรุงเทพมหานคร ซึ่งได้รับสัมปทานโครงการจากกรุงเทพมหานครเช่นเดียวกัน มีแนวเส้นทางเป็นแนวเหนือ-ตะวันออก พาดผ่านพื้นที่สามจังหวัด ได้แก่ [[กรุงเทพมหานคร]], [[จ.ปทุมธานี]] และ [[จ.สมุทรปราการ]] เริ่มต้นเส้นทางจากบริเวณย่าน[[ลำลูกกา]] จ.ปทุมธานี วิ่งไปตามแนว[[ถนนลำลูกกา]] จากนั้นเบี่ยงซ้ายเข้าถนนเลียบเส้นทางกับกรมควบคุมการปฏิบัติทางอากาศของกองทัพอากาศ เข้าสู่เขตกรุงเทพมหานคร วิ่งผ่านพื้นที่สำคัญหลายแห่ง อาทิ [[กองทัพอากาศ]], [[กรมทหารราบที่ 11 รักษาพระองค์]], [[ม.ศรีปทุม]], [[ม.เกษตรศาสตร์]] จากนั้นเข้าสู่พื้นที่กรุงเทพมหานครชั้นในที่บริเวณ[[แยกรัชโยธิน]] วิ่งมาจนถึงปากทาง[[ห้าแยกลาดพร้าว]] ยกระดับข้าม[[ดอนเมืองโทลล์เวย์]] เข้าถนนพหลโยธิน ผ่าน[[อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ]] เมื่อถึง[[แยกปทุมวัน]]แนวเส้นทางจะเลี้ยวซ้ายเข้า[[ถนนพระรามที่ 1]] และมุ่งตรงไปยัง[[ถนนเพลินจิต]] และ[[ถนนสุขุมวิท]] เพื่อเข้าเขต[[จังหวัดสมุทรปราการ]] ผ่านพื้นที่สำคัญของ[[จังหวัดสมุทรปราการ]]อีกหลายแห่ง อาทิ [[พิพิธภัณฑ์ช้างเอราวัณ]], [[โรงเรียนนายเรือ]], ศาลากลางจังหวัดสมุทรปราการ และสิ้นสุดเส้นทางทั้งโครงการที่ย่านบางปู บริเวณ[[สถานตากอากาศบางปู]] จังหวัดสมุทรปราการ รวมระยะทางทั้งสิ้น 52.65 กิโลเมตร นับเป็นเส้นทางระบบขนส่งมวลชนเร็วที่ยาวที่สุดในกรุงเทพมหานคร แนวเส้นทางจะเน้นขนส่งผู้โดยสารจากชานเมืองทั้งฝั่งเหนือและฝั่งตะวันออกให้เข้าสู่พื้นที่ใจกลางกรุงเทพมหานคร พื้นที่ท่องเที่ยว, สถานบันเทิง และเขตเศรษฐกิจชั้นในตามแนวถนนสุขุมวิทได้อย่างรวดเร็ว
 
===พื้นที่เส้นทางผ่าน===
บรรทัด 350:
|}
 
===== การเวนคืนที่ดิน =====
====='''การเวนคืนที่ดิน” '''จะเวนคืนที่ดิน เฉพาะที่จำเป็นที่ใช้ในการก่อสร้างโครงการฯ เพื่อจัดทำทางขึ้น-ลงของสถานีต่างๆ อาคารจอดรถ ศูนย์ซ่อมบำรุงรักษา และสิ่งจำเป็นอื่น ๆ เท่านั้น โดยต้องเป็นไปตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ เพื่อกิจการขนส่งมวลชน พ.ศ. 2540 ที่จะกำหนดราคาเวนคืนที่ดิน และค่าทดแทนภาระในอสังหาริมทรัพย์ที่เป็นธรรม โดยจะมีการตั้ง คณะกรรมการเพื่อพิจารณาราคาที่ดิน โดยพิจารณาจากปัจจัยต่างๆ เช่น ทำเลที่ตั้งของที่ดิน, ราคาประเมินของกรมที่ดิน, รวมทั้งราคาซื้อขายในบริเวณนั้น เป็นต้น =====
'''“ผู้ถูกเวนคืน”''' ถือว่าเป็น “ผู้เสียสละ” จะจัดทำชื่อไปติดประกาศเกียรต74ณ ณ สถานีปลายทาง ที่ห้าแยกลาดพร้าว และคูคตด้วย
 
'''“ผู้ถูกเวนคืน”''' ถือว่าเป็น “ผู้เสียสละ” จะจัดทำชื่อไปติดประกาศเกียรต74ณเกียรติคุณ ณ สถานีปลายทาง ที่ห้าแยกลาดพร้าว และคูคตด้วย
 
===== รายชื่อสถานี =====
เส้น 484 ⟶ 486:
* '''เส้นทาง :''' แนวเส้นทางนี้ปรากฏขึ้นครั้งแรกในแผนการขยายแนวเส้นทางระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานคร ตามมติการประชุมร่วมกับคณะกรรมการจัดการจราจรทางบก (คจร.) เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2547 ที่คจร. มีมติให้กรุงเทพมหานครศึกษาแนวทางเพิ่มเติมเพื่อต่อขยายสายทางภายใน พ.ศ. 2552 โดยแนวเส้นทางจะต่อขยายจาก[[สถานีอ่อนนุช]] แล้วเลี้ยวขวาเข้า[[ถนนอ่อนนุช]] ผ่านแยกศรีนุช แยกพัฒนาการ เข้าสู่ถนนลาดกระบัง จากนั้นเลี้ยวขวาเข้าท่าอากาศยานสุวรรณภูมิในแนวเดียวกับถนนสุวรรณภูมิ 1 เพื่อสิ้นสุดทั้งโครงการที่สถานีท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ซึ่งจะยกระดับอยู่ด้านหน้าอาคารผู้โดยสารหลัก รวมระยะทาง 20 กิโลเมตร แต่เนื่องจากแนวเส้นทางส่วนใหญ่เป็นแนวคู่ขนานกับ [[รถไฟฟ้าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ]] ช่วงรามคำแหง - สุวรรณภูมิ ถึงแม้จะเป็นการช่วยแบ่งเบาภาระให้กับโครงการ รวมถึงขนส่งผู้โดยสารออกไปตามแนวถนนอ่อนนุช และถนนลาดกระบัง แต่ด้วยข้อกังขาเรื่องการลงทุน กรุงเทพมหานครจึงไม่ได้เสนอส่วนต่อขยายนี้ให้คณะรัฐมนตรีพิจารณา<ref>[http://eiadoc.onep.go.th/eialibrary/3transport/51/51_3087.pdf โครงการศึกษาแนวทางการพัฒนาโครงการระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานครส่วนต่อขยายโดยรวม]</ref>
 
=== ส่วนต่อขยายอ่อนนุช - บางนา - ท่าอากาศยานสุวรรณภู9+[[rdgrhh]]<nowiki/>bสุวรรณภูมิ ===
* '''หน่วยงานที่รับผิดชอบ :''' สำนักการจราจรและขนส่ง [[กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)|กรุงเทพมหานคร]]
* '''พื้นที่ที่เส้นทางผ่าน :''' [[เขตบางนา]] [[กรุงเทพมหานคร]]